งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
การนำเสนอ เรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2 กรอบการนำเสนอ ความสำคัญของทุนทางสังคม กรอบแนวคิดในการพัฒนา ทุนทางสังคม
(ร่าง) ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุน ทางสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

3 ความสำคัญของทุนทางสังคม
ทรัพยากร ธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ทุนทาง สังคม การพัฒนา ประเทศ ยั่งยืน เศรษฐกิจ

4 กรอบความคิดหลัก : ทุนทางสังคม
ทุนมนุษย์ ทุน สถาบัน ภูมิปัญญา & วัฒนธรรม

5 (ร่าง) ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์
การประเมิน สถานการณ์/ แนวโน้ม หลักการ สำคัญ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการ แปลงสู่ การปฏิบัติ

6 SWOT Analysis จุดอ่อน (W) โอกาส (O) จุดแข็ง (W) ภัยคุกคาม (T)
ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือยไร้ระเบียบ จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่ำ (7.8 ปี) ผู้นำทางศาสนาที่มีคุณภาพมีไม่เพียงพอ สื่อคำนึงถึงผลประโยชน์ทางธุรกิจ องค์กรชุมชนจำนวนมากยังไม่เข้มแข็ง ขาดการต่อยอดพัฒนา เชื่อมโยงกับการสร้างรายได้ /คุณภาพชีวิต จุดอ่อน (W) การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์ การรวมตัวของประชาชนเพิ่มขึ้น & มีบรรยากาศเอื้ออำนวย นโยบาย กลไกผู้ว่า CEO & งบประมาณ สนับสนุนการพัฒนาทุนทางสังคม โอกาส (O) ผู้นำทางสังคมกระจายอยู่ทุกสาขา / พื้นที่ คนไทยเปิดกว้าง ยืดหยุ่น พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ครอบครัว/ระบบเครือญาติเป็นสถาบันแรกเริ่มในการพัฒนาคน สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ หลักธรรมของทุกศาสนา (ความซื่อสัตย์ ความรัก ความเมตตา เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์) มีทรัพยากรทางศาสนามาก หลากหลาย/มีจุดเด่นในแต่ละภูมิภาค จุดแข็ง (W) การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย สังคมผู้สูงอายุ ภาวะพึ่งพิงสูง กระทบต่อกำลังแรงงาน งปม. & การเตรียมพร้อมของคนและระบบ ICT สร้างค่านิยม/พฤติกรรมไม่เหมาะสม & ทำลายทุนทางสังคม ภัยคุกคาม (T)

7 จุดอ่อน (W) ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือย ไร้ระเบียบ
ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือย ไร้ระเบียบ จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่ำ (7.8 ปี) ผู้นำทางศาสนาที่มีคุณภาพมีไม่เพียงพอ สื่อคำนึงถึงผลประโยชน์ทางธุรกิจ องค์กรชุมชนจำนวนมากยังไม่เข้มแข็ง ขาดการต่อยอดพัฒนา เชื่อมโยงกับการสร้างรายได้ /คุณภาพชีวิต จุดอ่อน (W)

8 จุดแข็ง (S) สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ
หลักธรรมของทุกศาสนา (ความซื่อสัตย์ ความรัก ความเมตตา เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์) มีทรัพยากรทางศาสนามาก ครอบครัว/ระบบเครือญาติเป็นสถาบัน แรกเริ่มในการพัฒนาคน ผู้นำทางสังคมกระจายอยู่ทุกสาขา / พื้นที่ หลากหลาย/มีจุดเด่นในแต่ละภูมิภาค

9 โอกาส (O) การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์
การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์ การรวมตัวของประชาชนเพิ่มขึ้น & มีบรรยากาศเอื้ออำนวย นโยบาย กลไกผู้ว่า CEO & งบประมาณ สนับสนุนการพัฒนาทุนทางสังคม โอกาส (O)

10 ภัยคุกคาม (T) การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย
ICT สร้างค่านิยม/พฤติกรรมไม่เหมาะสม & ทำลายทุนทางสังคม การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย สังคมผู้สูงอายุ ภาวะพึ่งพิงสูง กระทบต่อกำลังแรงงาน งปม. & การเตรียมพร้อมของคนและระบบ ภัยคุกคาม (T)

11 หลักการพัฒนาทุนทางสังคม
การมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน ปัจจัยหลักสนับสนุน วาระแห่งชาติอื่น สอดคล้องกับพื้นที่ & สถานการณ์ รักษา ฟื้นฟู ต่อยอด พัฒนา & สร้างภูมิคุ้มกัน สร้างสำนึก/คุณค่าร่วม & เป็นเครือข่าย หลากหลาย & ยืดหยุ่น สมดุล & ครบวงจร เชื่อมโยง

12 วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์
เสริมสร้างคุณภาพชีวิตคนไทย คุณภาพ สังคมไทย ภูมิปัญญาการเรียนรู้ สมานฉันท์ วัตถุประสงค์ พัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ คุณธรรม จิตสำนึกสาธารณะและพฤติกรรมเพื่อ ส่วนรวม พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดความยั่งยืน เสริมสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ในทุกภาคส่วน

13 เป้าหมาย ทุนสถาบัน ทุนมนุษย์ ทุนภูมิปัญญาฯ คนไทยมีจิตสำนึกสาธารณะ
สถาบันครอบครัว เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ วัดทั้งประเทศมี กิจกรรมพัฒนาจิตใจคน / พัฒนาสังคม  ธุรกิจเอกชนมีเครือข่ายกิจกรรมธุรกิจเพื่อสังคม  สื่อสร้างสรรค์มีสาระเพื่อสังคมร้อยละ 50 ทุนมนุษย์ คนไทยมีจิตสำนึกสาธารณะ ทำฐานข้อมูลผู้ที่มีความสามารถ & ทักษะ(Talent & Skill Mapping) ทุนภูมิปัญญาฯ OTOP/ การท่องเที่ยว ได้รับการต่อยอด รักษา ฟี้นฟู สืบทอด ภูมิปัญญา / วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา

14 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา (1) สนับสนุน (5) พัฒนากลไก ให้เกิดกระบวนการ
ทุนทางสังคม (5) พัฒนากลไก การติดตาม ประเมินผล 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา (4) สร้างภูมิคุ้มกัน ให้ทุนทางสังคม (2) เสริมสร้างพลัง และคุณค่าให้ ทุนทางสังคม (3) จัดการ/ แลกเปลี่ยน องค์ความรู้ ทุนทางสังคม

15 รณรงค์ผ่านสื่อสาธารณะทุกรูปแบบ จัดเวที/กระบวนการให้เกิดการรวมตัว
ยุทธศาสตร์ 1 : สนับสนุนให้เกิดกระบวนการทุนทางสังคม รณรงค์ผ่านสื่อสาธารณะทุกรูปแบบ จัดเวที/กระบวนการให้เกิดการรวมตัว สอดแทรกประเด็นทุนทางสังคมไว้ในการทำงานขององค์กร/เครือข่ายทุกระดับ ร่วมกันกำหนดประเด็นหลักในการพัฒนา ค้นหาแบบอย่างที่ดีในการชุมชน/พื้นที่มาพัฒนาชุมชนของตนเอง

16  ทำหลักสูตร/มาตรการจูงใจให้คนมีจิตสาธารณะ
ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.1 ทุนมนุษย์  ทำหลักสูตร/มาตรการจูงใจให้คนมีจิตสาธารณะ ฟื้นฟูคุณค่าความเป็นไทยผ่านระบบการศึกษา/สื่อ/ครอบครัว สนับสนุนการทำงานของผู้นำ/นักปฏิบัติเพื่อสังคม เพิ่มความรู้/ทักษะแก่ประชาชนให้จัดการทุนทาง สังคมได้เหมาะสม เสาะหาผู้มีความสามารถและทักษะเพื่อให้เป็นฐาน การพัฒนาคน

17 สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันตามความพร้อม/ ความต้องการ
ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.2 ทุนสถาบัน สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันตามความพร้อม/ ความต้องการ พัฒนาครอบครัวแบบบูรณาการ พัฒนาบุคลากรทางศาสนา ใช้มาตรการการเงินการคลัง/สังคมจูงใจภาคเอกชน ส่งเสริมสื่อสร้างสรรค์เพื่อสังคม 2. ส่งเสริมให้สถาบันทำหน้าที่เป็นทุนทางสังคม สร้างคนรุ่นใหม่ผ่านระบบการศึกษา ครอบครัว & ชุมชน เผยแพร่กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่งเสริมการแปลงคำสอนศาสนาสู่วิถีชีวิต ให้สื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสม

18 เสริมสร้างความสามัคคี/ความไว้เนื้อเชื่อใจ
ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.3 ทุนภูมิปัญญาฯ เสริมสร้างความสามัคคี/ความไว้เนื้อเชื่อใจ พัฒนาระบบการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ชุมชนร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่อยอดพัฒนา ใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ แปลงภูมิปัญญาในตัวคนให้ออกมาอย่างเป็นระบบ & เข้าถึงได้ ฟื้นฟู อนุรักษ์ พัฒนา ศิลปวัฒนธรรม ให้บ้าน วัด โรงเรียน ปลูกฝังถ่ายทอด ภูมิปัญญา

19 ยุทธศาสตร์ 3 : การจัดการและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทุนทางสังคม
ให้สถาบันการศึกษา หน่วยงานในพื้นที่และชุมชนจัดการความรู้ สนับสนุนงานวิจัย/พัฒนาองค์ความรู้ โดยเน้นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของประชาชน สื่อเผยแพร่ / ประชาสัมพันธ์

20 ยุทธศาสตร์ 4 : สร้างภูมิคุ้มกันให้ทุนทางสังคม
ศึกษาปัจจัย/อุปสรรคต่อการพัฒนา/ ลดทอนคุณค่าทุนทางสังคม กำหนดมาตรการทางภาษี กฎหมาย/สังคม เพื่อป้องกันและขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ

21 ยุทธศาสตร์ 5 : การพัฒนากลไกติดตามประเมินผล
พัฒนาระบบติดตามประเมินผล พัฒนาตัวชี้วัด/ ฐานข้อมูล ทั้งระดับชาติ/พื้นที่ รายงานผลเป็นประจำทุกปี 2. จัดทำแผนที่ทุนทางสังคม ทั้งระดับชาติ/ท้องถิ่น

22 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ภาวะผู้นำ / ผู้นำขับเคลื่อนกระแสสังคม
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องทุนทางสังคม มีแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน การรวมกลุ่ม/สร้างเครือข่าย เชื่อมโยงกับ ภาคการเมือง สร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการพัฒนาทุนทางสังคม สร้างเครือข่ายสื่อทุกระดับ

23 การแปลงแนวทางสู่การปฏิบัติ
เลือกเรื่อง สำคัญ ในระดับชาติ ยึดหลัก AFP ทำพื้นที่/ โครงการ นำร่อง วิจัย & สื่อสารสาธารณะ กลไกสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในทุกระดับ

24 ชุมชน/ประชาชน รัฐบาล/ การเมือง สื่อมวลชน เอกชน
กำหนดให้เป็น วาระแห่งชาติ & สนับสนุนอย่าง จริงจัง บทบาทของภาคี ระดับนโยบาย ตั้งคณะกรรมการพัฒนาทุนสังคม ระดับชาติ มี นรม. เป็นประธาน เป็นแกนนำระดับพื้นที่/ สร้างผู้นำชุมชน ชุมชน/ประชาชน รัฐบาล/ การเมือง ราชการ สื่อมวลชน พื้นที่ ส่วนกลาง เอกชน ระดับปฏิบัติ นำยุทธศาสตร์ไปใช้เป็นกรอบในการทำงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง & กว้างขวาง กลไกผู้ว่า CEO เป็นตัวประสานกับ อปท. และชุมชน ร่วมขับเคลื่อนตามความถนัด/สนใจ


ดาวน์โหลด ppt “ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google