งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระหว่างปี กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ชุมชนมีและใช้มาตรการ ทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมและมีส่วนร่วมรับ ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข ชุมชนมีการวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ประชาชนสามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ที่พัฒนาขึ้นโดยชุมชน ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ประชาชน ภาคเอกชนมีบทบาทสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย อปท. มีบทบาทสนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมผลักดันการดำเนินโครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของชุมชน หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสนับสนุนข้อมูลแนวทาง มาตรการ และมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคและการเฝ้าระวังตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย ผู้นำชุมชนสามารถเป็นผู้บัญชาการสถานการณ์/ อสม. สามารถเป็นแกนนำในการ เฝ้าระวังและเตือนภัยในชุมชน ภาคี ระบบการสื่อสารทุกระดับที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันเวลา ระบบการติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุม ทุกระดับ จัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่ายมีคุณลักษณะที่เอื้อ ต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม พื้นฐาน

2 ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ปี (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ชุมชนมีโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขที่พัฒนาขึ้นโดยชุมชน ชุมชนมีการวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินโครงการต่าง ๆ ของชุมชน อสม. และมิสเตอร์เตือนภัยเป็นแกนนำในการเฝ้าระวังและเตือนภัยในชุมชน หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนข้อมูล แนวทาง มาตรการและมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคและการเฝ้าระวังตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย ผู้นำชุมชนมีบทบาทในการเป็นผู้บัญชาการสถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ภาคเอกชนให้การสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข มีระบบการสื่อสารที่ครอบคลุมในระดับพื้นที่อย่างถูกต้องและทันเวลา มีการจัดการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายต่าง ๆ ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการ มีการจัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่ายมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม มีข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข

3 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข ภายในปี พ.ศ (ระยะเวลา 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนจัดทำโครงการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีและใช้มาตรการ ทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ชุมชนสามารถวิเคราะห์และเฝ้าระวังความเสี่ยงทางด้านสุขภาพในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้นำชุมชน/ อสม./ภาคเอกชน สามารถเป็น ผู้บัญชาการสถานการณ์หรือสนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย อปท. มีบทบาทสนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมผลักดันการดำเนินโครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของชุมชน ระดับภาคี (Stakeholder) หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสนับสนุนข้อมูล แนวทาง มาตรการและมาตรฐานวิชาการเรื่องโรคการเฝ้าระวัง ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแก่เครือข่าย การจัดการความรู้และนวัตกรรมของ เครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ระบบการสื่อสารที่ครอบคลุมในระดับพื้นที่อย่างถูกต้องและทันเวลา ระดับกระบวนการ (Management) ระบบบริหารจัดการทรัพยากร/ระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ และมีการติดตามประเมินผล ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข องค์กรและทีมงานเครือข่าย มีคุณลักษณะที่เอื้อ ต่อความร่วมมือและทำงานเป็นทีม ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) บุคลากรและแกนนำเครือข่ายมีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข


ดาวน์โหลด ppt กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google