งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)  ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน  ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการดูแลสุขภาพ โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)  อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง  อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน  หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน)  มีระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพ  มีระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ  มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ  การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา)  ระบบข้อมูลมีคุณภาพ  บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม  องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน

2 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม
โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก (ARIC) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรค ARICที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรค ARICได้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ชุมชนสามารถ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนมีความรู้เจตคติในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองให้ปลอดภัย จากโรค ARIC ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพโรค ARIC ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคARIC อย่างต่อเนื่อง อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน 2

3 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ปี ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กที่เป็นปัจจุบันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์  พัฒนาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งข้อมูลโรค ARIC  สนับสนุนแหล่งข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน  ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้ เพื่อประโยชน์ของชุมชน  สนับสนุนการสร้าง ชุมชนต้นแบบในการ จัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อการแก้ไขปัญหา สุขภาพในชุมชน ส่งเสริมการแสดง บทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ARIC ชุมชนสามารถ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ส่งเสริม และสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้ถูกต้อง เหมาะสม  เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม  ส่งเสริมทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง  สนับสนุนประชาชนให้แสดงบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคARICในชุมชน ชุมชนมีและใช้ มาตรการทางสังคม เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ส่งเสริมการสร้าง และสนับสนุนการใช้ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ประชาชนมีความรู้ เจตคติ ในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  พัฒนากระบวนการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ประชาชน สร้างจิตสำนึกที่ดีใน การดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพโรคARIC  แสวงหาภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนาเป็นองค์ความรู้ เพื่อนำมาใช้ในการป้องควบคุมโรค ARIC  สนับสนุนการใช้ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน  สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาท้องถิ่นระหว่างชุมชน ประชาชน อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้อปท.จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด้ก สร้างเครือข่ายความร่วมมือการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด้กในชุมชน เสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเฃื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สนับสนุนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กระหว่างหน่วยงานเครือข่ายภาครัฐและเอกชน สร้างและพัฒนาคู่มือ/แนวทางงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กร่วมกับเครือข่าย อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน  พัฒนาศักยภาพของ เครือข่ายแกนนำสุขภาพของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย  พัฒนาระบบ/ช่องทางการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับโรคARICให้เหมาะสมและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย  สนับสนุนการเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศด้านโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระบบติดตามการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ  พัฒนากระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ  ผลักดันการสร้างและสนับสนุนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก  ส่งเสริมการถ่ายทอดยุทธศาสตร์โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สู่การปฏิบัติ การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ  ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการจัดการความรู้โรค ARIC  สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมในการป้องกัน ควบคุมโรค ARIC  สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรค ARICอย่างต่อเนื่อง  พัฒนาเกณฑ์ มาตรฐาน แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ARIC กระบวนการ บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม  พัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและทีมงานอย่างต่อเนื่อง  สร้างเครือข่ายวิชาการโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ระบบข้อมูลมีคุณภาพ  พัฒนาระบบการประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง พัฒนาการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน พัฒนาการจัดการสารสนเทศและความรู้ให้มีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พัฒนาระบบงาน (Work System) พัฒนาระบบสื่อสารภายในองค์กรให้มีประสิทธิผล พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและจริยธรรมการทำงานร่วมกัน พื้นฐาน 3

4 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ของ
กลุ่มโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กให้ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ชุมชนมีการบริหารจัดการโครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กได้ เพื่อประโยชน์ของชุมชน ประชาชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก อสม. แกนนำสุขภาพ กองทุนต่าง ๆ ประชาสังคมมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กในชุมชน หน่วยงานภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก อปท.มีบทบาทเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือและขับเคลื่อนการสร้างมาตรการทางสังคม รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอย่างต่อเนื่อง ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีคุณภาพครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย การจัดการความรู้และสร้างนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่าย ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน บุคลากร ทีมงานเครือข่ายมีสมรรถนะที่เหมาะสม


ดาวน์โหลด ppt ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google