อินเทอร์เน็ต (Internet)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
อินเทอร์เน็ต (Internet)
Script Programming& Internet Programming
รู้จักกับ อินเทอร์เน็ต.
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ขอต้อนรับ...สู่โลกอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
World Wide Web WWW.
Kulachatr Chatrkul Na Ayudhya Introduction to e-Commerce
ควรมีอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ลำโพง , หูฟัง เนื่องจากมีการบรรยายประกอบสไลด์
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
ขั้นตอนการเขียนเว็บเพจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ทบทวนความเข้าใจ.
อินเทอร์เน็ต และการใช้งาน
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
IP Address / Internet Address
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
เรื่องความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
Internet.
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
ผลการเรียนรู้ทั้งหมด 7 ข้อ 1. บอกความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตได้
….WETCOME…. TO HOMEPAGE. โฮมเพจ (Home Page ) เป็นผลผลิตของไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ผู้เข้าไปใช้ บริการอินเตอร์เน็ตพบเห็นกันมากที่สุด ผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต.
วิชาคอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ 2 ม
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเทอร์เน็ต.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
Uniform Resource Location ( URL)
ระบบชื่อเว็บไซต์. URL(Universal Resource Locators or Uniform Resource Locators ) ที่อยู่ของแหล่งข่าวสารที่เป็นสากล รูปแบบมาตรฐานของ URL เป็นดังนี้ scheme://host:port/path.
ISP ในประเทศไทย
ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
Domain Name System   (DNS).
Internet Service Privider
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อินเทอร์เน็ต (Internet)

อินเทอร์เน็ต คืออะไร อินเทอร์เน็ต คือ กลุ่มของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน และอนุญาตให้มีการเข้าถึงสารสนเทศและบริการในรูปแบบของสาธารณะ

ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ARPANET ( พ.ศ.2512) Protocol : TCP/IP

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่(Prince of Songkla University) และ (AIT) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ ขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสารเชื่อมต่อกับบริษัท UNET Technologiesประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาเกิดเครือข่าย THAINET NECTEC จัดตั้งเครือข่ายไทยสาร

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

การแทนชื่อที่อยู่ของอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกันในเครือข่าย อินเทอร์เน็ตติดต่อกันด้วย มาตรฐานการสื่อสาร TCP/IP ซึ่งคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายนี้จะมีหมายเลขประจำตัว เรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address)

IP Address IP Address เป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต แบ่งออกเป็น 4 ส่วน (ไบต์) ส่วนละ 8 บิต โดยเขียนเป็นเลขฐาน 10 มีค่าอยู่ ระหว่าง 0 - 255 คั่นแต่ละส่วนด้วย ตัวอย่างเช่น 203.155.98.33 กำหนด และดูแลโดย InterNIC (www.internic.org) X . X . X . X 0-255 1-255

การแทนชื่อที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต IP Address คือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปทราบถึงแหล่งที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น ระบบชื่อของเครื่องแทนหมายเลข IP Address คือ ระบบโดเมนเนม(Domain Name System-DNS) bc.siamu.ac.th

ระบบโดเมนเนม (Domain Name System) กำหนดมาตรฐานโดย หน่วยงาน ICANN Domain name แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. ชื่อองค์กร 2. ชื่อโดเมน โดยชื่อโดเมนแบ่งออกเป็น โดเมนระดับบนสุด โดเมนย่อย

โดเมนระดับบนสุด ระบุถึงประเภทขององค์การและ/หรือชื่อประเทศของเครือข่าย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.) ชื่อโดเมนระดับบนสุด (top-level domain : TLD) เป็นชื่อย่อประเภทองค์การในประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่อโดเมน ประเภทองค์การ ตัวอย่าง com กลุ่มธุรกิจการค้า www.amazon.com edu สถาบันการศึกษา www.okstate.com org กลุ่มองค์การไม่แสวงหาผลกำไร www.reporter.org gov กลุ่มองค์การของรัฐ www.nasa.org mil กลุ่มองค์การทางทหาร www.army.mil net กลุ่มองค์การบริหารเครือข่าย www.networksolutions.net

โดเมนระดับบนสุด เนื่องจากการเติบโตของอินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างรวดเร็ว ICANN จึงได้กำหนดชื่อโดเมนขึ้นมาใหม่ ดังนี้ ชื่อโดเมน ประเภทองค์การ ตัวอย่าง museum พิพิธภัณฑ์ www.chicago.art.museum biz องค์การธุรกิจ www.kcom.biz info องค์การให้บริการสารสนเทศ www.business.info name บุคคล/ครอบครัว www.trevor.smith.name aero บริษัทที่ให้บริการทางอากาศ www.united.aero coop หน่วยงานที่ร่วมมือกัน www.united.coop

โดเมนระดับบนสุด 2.) ชื่อโดเมนระดับบนสุดที่เป็นชื่อย่อของประเทศต่าง ๆ ที่ไม่ใช่สหรัฐอเมริกา ชื่อโดเมน ประเทศ ตัวอย่าง ca แคนาดา www.yellowpages.ca jp ญี่ปุ่น www.keio.ac.jp uk อังกฤษ www.icdl.open.ac.uk au ออสเตรเลีย www.geko.com.au my มาเลเซีย www.upm.edu.my

โดเมนย่อยแทนประเภทขององค์การ ชื่อโดเมนย่อย ประเภทขององค์การ ตัวอย่าง ac สถาบันการศึกษา www.siamu.ac.th co ธุรกิจการค้า www.thairath.co.th go องค์การของรัฐ www.moe.go.th or องค์การที่ไม่แสวงหาผลกำไร www.nectec.or.th mi หน่วยงานทางทหาร www.navy.mi.th net องค์การที่ให้บริการเครือข่าย www.thaisarn.net.th

bc.siamu.ac.th 203.155.98.33 ชื่อเครือข่ายท่องถิ่น ชื่อโดเมนย่อย ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ bc.siamu.ac.th 203.155.98.33 ชื่อโดเมน

การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อผ่าน โทรศัพท์และโมเด็ม (dial-up access)

ชื่ออินเตอร์เน็ต (DNS: Domain Name System) คือชื่อที่อ้างถึงคอมพิวเตอร์ ที่ต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต เนื่องจาก IP Address เป็นตัวเลข 4 ชุด ที่ยากในการจดจำ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารเครือข่าย ตั้งชื่อที่ให้รายละเอียด และจดจำได้ง่าย โครงสร้างระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งจะถูกแบ่งเป็นส่วนๆ ที่เรียกว่า Domain โดยมีผู้ดูแลซึ่งทำหน้าที่ ตั้งชื่อภายในโดเมน ผู้ดูแลอาจจะแบ่ง โดเมนออกเป็นส่วนย่อย และสามารถแบ่ง เป็นหลายระดับ และแต่ละดับ มีชื่อเรียกเฉพาะตัว เมื่อนำมาเรียงต่อกัน ก็จะได้ชื่อที่บ่งบอกว่า มันอยู่ที่ไหนของระบบ เช่น ชื่อองค์กร > ส่วนขยายบอกประเภทขององค์กร > ส่วนขยายบอกประเทศ ·         โดเมน 2 ระดับ netscape.com / fidonet.org / nasa.gov / mit.edu ·         โดเมน 3 ระดับ siamcom.co.th

ส่วนขยายบอกประเภทขององค์กร com หรือ co กลุ่มองค์การค้า Commercial edu หรือ ac กลุ่มการศึกษา Educational mit หรือ mi กลุ่มองค์การทหาร Military net กลุ่มองค์การบริการเครือข่าย Network Service org หรือ or กลุ่มองค์กรอื่นๆ Organizations ส่วนขยายบอกประเทศ Au Australia FR France HK Hong Kong JP Japan Th Thailand Sg Singapore UK United Kingdom ส่วนประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่ต้องใส่ส่วนขยายก็ได้

DNS Server เราสามารถใช ้ชื่อโดเมนในการอ้างถึง เครื่องขององค์กรใดๆ แทนการใช้ IP Address แต่ในการทำงานแล้ว ระบบยังคงใช้ IP Address ในการอ้างถึง ดังนั้น ในระบบจึงมี เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ใช้สำหรับจัดเก็บฐานข้อมูล ของ IP Address กับชื่อโดเมน ที่สัมพันธ์กัน จัดเก็บในรูป ของตารางเปรียบเทียบ ชื่อโดเมน IP Address เครื่องบริการนี้ เรียกว่า DNS Server DNS Server จะทำการค้นหา IP Address ที่ตรงกับชื่อโดเมนตาม ข้อมูลที่ได้ถูกลงทะเบียนไว้ จากนั้นระบบก็นำค่า IP Address ที่ได้ไปใช้ต่อไป ดังนี้ ในการเชื่อมโยงเครื่อง ของเราเข้ากับระบบอินเตอร์เน็ต เราจะต้องกำหนดเลขที่เครื่อง DNS Server ไว้ด้วย เพื่อให้สามารถเรียก ใช้บริการค้นหา IP Address จากเครื่อง DNS Server ได้

การเชื่อมต่อเข้าสู่ INTERNET 1.การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct connection) การเชื่อมต่อแบบนี้ เป็นการนำระบบ ของเราเข้าเชื่อมต่อโดยตรงกับสายหลัก (Back bone) ของอินเตอร์เน็ต โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gateway หรือ Router ร่วมกับสายสัญญาณ ความเร็วสูง โดยเราจะต้องติดต่อ โดยตรงกับ InterNIC เพื่อขอชื่อโดเมน และติดตั้งเกตเวย์เข้ากับสายหลัก 2.การเชื่อมต่อผ่านทางผู้ให้บริการ (ISP) บริษัทที่ทำหน้าที่ เป็นเหมือนจุดเชื่อมผู้ใช้รายเล็ก เข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งจะถูกเรียกว่า ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต หรือ Internet Service Provider (ISP) ถ้าต้องการใช้อินเตอร์เน็ต เราจะต้องเสียค่าบริการ เพื่อเชื่อมต่อกับ ISP และแบ่งลักษณะ การเชื่อมต่อออกเป็น 2 ประเภทตามความต้องการ ในการใช้งานของสมาชิก

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Internet access) Router

2.1 การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสำหรับผู้ใช้ทั่วไป (Individual User Service) ถ้าเราต้องการ ใช้อินเตอร์เน็ต จะต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการเชื่อมต่อกับ ISP เราอาจสมัคร เป็นสมาชิก โดยเสียค่าบริการรายเดือน ซึ่งจะจำกัดจำนวนชั่วโมง ที่เราเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ได้ในแต่ละเดือน หรือเราอาจซื้อ เป็นชุดอินเตอร์เน็ตสำเร็จรูป ซึ่งจะเป็นการซื้อ เหมาจำนวนชั่วโมง ที่เราจะใช้ภายใน 3 เดือน หรือใช้ภายในระยะเวลาใดก็ได้จนกว่าจะครบจำนวนชั่วโมง การเชื่อมต่อเข้าสู่อินเตอร์เน็ตรูปแบบนี้ จะใช้สายโทรศัพท์เชื่อมต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า Modem และเรียกการเชื่อมต่อ แบบนี้ว่า การเชื่อต่อแบบ (Dial-Up Connection) ข้อดีคือ สายโทรศัพท์มีอยู่ทั่วไป ไม่ยุ่งยาก ข้อเสีย ความเร็วในการสื่อสารมีจำกัด อาจเกิดสัญญาณรบกวนทำให้หลุดได้

2.2 การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสำหรับองค์กร (Corporate User Service) สำหรับองค์กรที่มีการจัดตั้งระบบเครือข่ายใช้งานภายในองค์กร สามารถนำเครื่องแม่ข่าย Server เชื่อมต่อกับ ISP เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้ โดยอาจเชื่อมต่อผ่านสายโทรศัพท์ หรือคู่สายเช่า Lease Line ซึ่งเป็นสายส่งข้อมูลเช่ารายเดือน (วงจรเช่า) เชื่อมต่อตลอดเวลา กับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต โดยจะเสียค่าบริการรายเดือน โดยอัตราค่าบริการ จะขึ้นอยู่กับความเร็ว ในการส่งข้อมูลที่ใช้ นอกจากนั้น จะต้องเสียค่าเช่าสาย Lease Line รายเดือน ให้กับองค์การสื่อสาร แห่งประเทศไทยด้วยการใช้สาย Lease Line สามารถโอนย้ายข้อมูล ด้วยความเร็วสูงกว่าการใช้สายโทรศัพท์ โดยคอมพิวเตอร์แม่ข่าย จะเชื่อมต่อกับ Lease Line โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า เราท์เตอร์ (Router) ข้อดี การส่งข้อมูลทำได้รวดเร็ว ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสูงกว่าการต่อแบบส่วนบุคคล

เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) เวิลด์ไวด์เว็บ คือ การนำเสนอ ข้อมูลต่างๆ ลักษณะหน้ากระดาษอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า เว็บเพจ (Web Page) เปรียบเสมือนหน้าหนังสือ หรือหน้านิตยสาร ซึ่งสามารถบรรจุข้อความ รูปภาพ และเสียงไว้ สามารถเชื่อมโยง (link) ไปยังเอกสารที่เกี่ยวข้องกันได้ เรียกการเชื่อมโยงนี้ว่า hyperlink

World Wide Web ประกอบด้วย เว็บเพจ (Web Page) เอกสารข้อมูลในแต่ละหน้า ซึ่งถูกเขียนด้วยภาษา HTML และข้อมูลนั้น อาจประกอบด้วยข้อความ ภาพ และเสียง โฮมเพจ (Home Page) เว็บเพจหน้าแรกสุด ของข้อมูลแต่ละเรื่อง จะเรียกว่า โฮมเพจ ซึ่งจะเป็นส่วนที่ บอกให้ทราบว่า ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลเรื่องใด พร้อมกับมีสารบัญ ในการเลือก ไปยังหัวข้อต่างๆ ในเรื่องนั้นๆ เว็บไซต์ (Web Site) เว็บเพจทั้งหลาย จะถูกจัดเก็บไว้ ที่เครื่องบริการที่เรียกว่า เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) หรือเว็บไซต์ (Web Site)

World Wide Web URL : Uniform Resource Locator

World Wide Web : WWW Homepage: เว็บเพจหน้าแรก เว็บไซต์: เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บเพจ HTML: ภาษาที่ใช้เขียนเว็บเพจ Hyperlink: การเชื่อมโยงเอกสารเว็บเพจ Hypertext , Hypermedia: สื่อประสมระหว่างข้อความ รูปภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต้น Web browser software: โปรแกรมที่ใช้แสดงข้อมูลของเว็บเพจ

ตัวอย่างภาษา HTML

HTML คือภาษาที่ใช้เขียน Web Page โดยใช้ Tagในการกำหนดคำสั่ง โดย tag ของภาษา HTML จะเริ่มด้วย <html> …….. < / html> Tag ==> คำสั่งภายใน < > ………..< / > ของภาษา HTML เช่น <title> ระบบคอมพิวเตอร์ </title> Property ใน Tag ==> ใช้เพื่อกำหนดคุณสมบัติของ Tag เพิ่มเติม เช่น <body bgColor= #ffffff > <h1 align=center> ระบบคอมพิวเตอร์ </h1>

<html> <head> <title>คอมพิวเตอร์เบื้องต้น</title> <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=windows-874"> </head> <body> <p><strong>องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์</strong>์</p> <p>1. Hardware</p> <p>2. Software</p> <p>3. People</p> <p>4. Data</p> <p><img src="/test/compt5%5B1%5D.gif" width="40" height="31"></p> </body> </html>

โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) ที่อยู่ของเว็บเพจหรือ URL ไฮเปอร์มีเดีย ไฮเปอร์เท็กซ์

โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์สำหรับเครื่องพีดีเอ

Uniform Resource Locator :URL Protocol : //domain name/path ตัวอย่างเช่น http://www.siam.edu http://tp.nectec.or.th/Project/Nsc/Nsc.htm ftp://bc.siamu.ac.th

บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต บริการด้านทางสื่อสาร บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ

บริการด้านทางสื่อสาร ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) E-mail Address เครื่องหมายแอ็ท ชื่อโดเมน ชื่อผู้ใช้ sriprai@siamu.ac.th

บริการด้านทางสื่อสาร การสนทนาออนไลน์ (Online chat) เช่น โปรแกรม ICQ, MSN Messenger

บริการด้านทางสื่อสาร Internet Relay Chat (IRC)

บริการด้านทางสื่อสาร Net2Phone NetMeeting

บริการด้านทางสื่อสาร เทลเน็ต (Telnet)

บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ บริการขนถ่ายไฟล์ File Transfer Protocol (FTP)

บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ (Search Engines)

เว็บศูนย์รวม (Portal Web)

Intranet & Extranet Intranet : ระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในองค์การ มีบริการต่าง ๆ คล้ายอินเทอร์เน็ต แตกต่างกันคือ เป็นการเชื่อมต่อและสื่อสารภายในองค์การเท่านั้น Extranet : เป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ภายนอกองค์การ

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

:: สรุป :: อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดใน โลก อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดใน โลก มีบริการต่าง ๆ มากมายในการติดต่อสื่อสาร และ บริการด้านข้อมูล ข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตเป็นข้อมูลสาธารณะ ต้องมี ระบบรักษาความปลอดภัย ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกวิธี และรู้ภัยอันตรายที่อาจมา กับอินเทอร์เน็ต