โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

Risk Management JVKK.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ทีมผู้ป่วยนอก 11 ตุลาคม PSO ตุลาคม KMKPI บริบ ท Tac tic ยุทธศา สตร์ PSO
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง วรรณพร วงศ์ทองดี

โครงสร้างบุคลากร บุคลากร 186 คน แพทย์ 5 คน พยาบาลวิชาชีพ 49 คน บุคลากร 186 คน แพทย์ 5 คน พยาบาลวิชาชีพ 49 คน เภสัชกร 2 คน จพง.ชันสูตร 2 คน จนท.อื่นรวมลูกจ้าง 128 คน

การคัดกรองวัณโรคในผู้ป่วยติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์

ก่อนการพัฒนา ระบบการส่งต่อผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ภายใน รพ.ไม่ชัดเจน การดูแลผู้ป่วยเป็นแบบแยกส่วน ทีมสหวิชาชีพไม่มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน มีการดูแลผู้ป่วยเฉพาะผู้รับยาต้านไวรัส ไม่ได้ดูแลผู้ติดเชื้อที่เข้ารับบริการทุกราย โดยเฉพาะการคัดกรองวัณโรคไม่ได้ทำ การดูแลไม่ครอบคลุมตามตัวชี้วัดที่หน่วยบริการควรดูแล การจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระบบ

วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพื่อพัฒนาระบบการคัดกรองวัณโรคให้ครอบคลุมในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ เพื่อพัฒนาระบบการคัดกรองเอชไอวีให้ครอบคลุมในผู้ป่วยวัณโรค

แนวทางการพัฒนา 1. วางระบบ ประชุมทีมสหวิชาชีพ - เสนอผู้บริหารเพื่อ กำหนดเป็นนโยบาย - กำหนดแนวทางการคัดกรอง และ กำหนดแบบฟอร์ม - กำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน - การบันทึกผลเพื่อการส่งต่อข้อมูล

การผสมผสานงานเอดส์และวัณโรค หน่วยงานตรวจพบผู้ติดเชื้อ HIV รายใหม่ ตรวจพบผู้ป่วย TB รายใหม่ หน่วยงานที่ให้คำปรึกษา ตรวจ HIV หน่วยงานที่ให้ความรู้เรื่อง TB และคัดกรอง TB ผลเป็นวัณโรค ติดเชื้อ ไม่ติดเชื้อ ส่งต่อ เจ้าหน้าที่ คลินิกเอดส์ ส่งต่อคลินิกวัณโรค รักษาที่คลินิกวัณโรค

2. จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงาน แจกจ่ายทุกหน่วยงาน

3. จัดอบรมให้ความรู้

การตรวจสอบข้อมูล คลินิกเอดส์ตรวจสอบข้อมูลการคัดกรองวัณโรค คลินิกวัณโรคตรวจสอบข้อมูลการคัดกรองเอชไอวี

ผลการประเมินคุณภาพของโรงพยาบาลทับสะแก ผลการวัดด้วยโปรแกรม HIVQUAL – T ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2549 - 2551

ผลการวัด HIVQUAL – T ตามตัวชี้วัดหลัก

จำนวนผู้รับบริการในคลินิกวัณโรค ผลการดำเนินงาน จำนวนผู้รับบริการในคลินิกวัณโรค รายการ ปี 50 ปี 51 ผู้ป่วยวัณโรคM+ รายใหม่ 27 ผู้ป่วยวัณโรคM- / นอกปอด รายใหม่ 24 22 ผู้ป่วยวัณโรคได้รับ VCT 17 49 ผู้ป่วยวัณโรคสมัครใจตรวจเลือด 46 ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี 8 7 ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับการตรวจ CD4

จากการคัดกรองวัณโรค ในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ปี 2551 จากการคัดกรองวัณโรค ในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ปี 2551 ผู้ป่วยใหม่ 50 ราย พบ TB 2 ราย ผู้ป่วยที่กินยา ARV113 พบ TB 1 ราย ผู้ติดเชื้อที่ยังไม่ได้รับยา ไม่พบการติดเชื้อวัณโรค

หลังการพัฒนา มีระบบการคัดกรองที่ชัดเจนเป็นนโยบายของโรงพยาบาล มีการประสานงานที่ดีขึ้น มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานชัดเจน มีการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบสามารถสื่อสารในทีมได้

ขอบคุณค่ะ