งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โดยนางสาววรรณพร วงศ์ทองดี

2 ระบบการดูแลผู้ป่วยเอดส์ก่อนการประเมินคุณภาพบริการ
ระบบการส่งต่อภายในโรงพยาบาลไม่ชัดเจน การดูแลแยกส่วน ไม่มีส่วนร่วมของแกนนำกับเจ้าหน้าที่ ไม่มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน มีการดูแลผู้ป่วยเฉพาะผู้รับยาต้านไวรัสเอดส์ ไม่ได้ดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ที่เข้ารับบริการทุกราย การดูแลไม่ครอบคลุมประเด็นตัวชี้วัดที่หน่วยบริการควรดูแล การจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระบบ

3 จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์
ผลการประเมินคุณภาพของโรงพยาบาลทับสะแก จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ รับบริการในคลินิก ราย เพศ ชาย 61 หญิง 96 รับยา/สูตรดื้อยา 44 / 2 61 / 3 ไม่ได้รับยา 17 35

4 ผลการวัด HIVQUAL-T ตัวชี้วัดหลัก

5 ผลการวัด HIVQUAL-T ตัวชี้วัดเสริม

6 แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Quality Improvement Project
1. จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่ให้บริการโดยยึดมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยตามเกณฑ์ สปสช.

7 แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Quality Improvement Project
2. พัฒนาเจ้าหน้าที่ พยาบาล , เจ้าหน้าที่ PCU , จพง.เภสัชกรรม จำนวน 2 รุ่น 3. วางระบบการดูแลผู้ป่วย และ การจัดเก็บข้อมูล - การกำหนดขั้นตอนปฏิบัติสำหรับผู้ติดเชื้อรายใหม่ - กำหนดขั้นตอนบริการ PMTCT และ CARE กับคลินิก ARV - การส่งผู้ป่วยเข้าคลินิก / ตารางนัดหมายประจำปี / บัตรนัดของผู้ป่วยรายปี - การส่งข้อมูลขึ้นทะเบียนผู้ติดเชื้อรายใหม่ / การตรวจสอบข้อมูลจากเวชระเบียน - การแบ่งบทบาทเจ้าหน้าที่ ให้คำปรึกษาในหน่วยงานต่างๆ - กำหนดแบบฟอร์มในการรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนขึ้น - แผนการปฏิบัติงานของคลินิก , การติดตามและประเมินผล - โดยให้งานที่ทำทุกอย่างเหมือนงานประจำ

8

9

10

11

12 สรุปผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตค.50 – 20 สค.51
รายการ ปี 51 หมายเหตุ 1. คัดกรองภาวะสุขภาพ 90.58 % 2. เอ็กซเรย์ปอด 78.26 % กิน ARV พบ TB 1 ราย 3. ตรวจหาซิฟิลิส 99.28 % VDRL Positive = 5 ราย Titer 1 :1 4. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 74.70 % ผิดปกติ ทั้งหมด 7 ราย 5. ตรวจหาปริมาณไวรัสในเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง 91.78 % 6. ตรวจหา VL จากผู้ที่รับยา ARV 93.41 % 7. การได้รับยา OI 98.16 % 8. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก 100 % 9. การป้องกันการแพร่เชื้อ - ใช้ถุงยางทุกครั้ง 88.24 %

13 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการ
ระบบการทำงานของโรงพยาบาล การทำงานเป็นทีมที่ชัดเจน การกำหนดบทบาทของหน่วยงาน การจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ มีการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น

14 Best Practice ที่ได้รับจากโครงการ QI
ใบคัดกรองวัณโรค วันเดือนปี ชื่อ - สกุล ส่วนที่1 สัมภาษณ์ ผู้รับบริการและวงกลมข้อที่พบ อาการทางคลินิกที่เข้าได้กับการติดเชื้อวัณโรค ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค 1. มีอาการไอเรื้อรังนานกว่า 2 สัปดาห์ 1. มีประวัติสัมผัสหรือคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อวัณโรค 2. มีไข้ต่ำๆเรื้อรังนานกว่า 2 สัปดาห์ ที่บ้านหรือที่ทำงาน 3. น้ำหนักลด 2. มีประวัติรักษาวัณโรค 4. ไอเป็นเลือด 3. ฉีดยาเสพติดเข้าเส้น 5. เหงื่อออกตอนกลางคืน 4. เคยติดคุก - ถ้ามีอาการทางคลินิกข้อใดข้อหนึ่งให้ส่งตรวจเสมหะ 3 วัน และ Chest X - ray ด้วย - ถ้ามีความเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง แต่ไม่มีอาการทางคลินิก ให้ Chest X - ray อย่างเดียว กรณีผล ฟิลม์ไม่แน่ชัด / สงสัยวัณโรคปอด ให้เพิ่มเก็บ AFB X 3 วัน - การเก็บเสมหะ ต้องมี Collected อย่างน้อย 1 ครั้ง - การ Chest X - ray ให้เช็คประวัติด้วยทุกครั้ง ถ้าเคยมา Chest X - ray ภายใน 1 สัปดาห์ ไม่ต้องทำอีก

15 ส่วนที่ 2 การคัดกรอง รายละเอียด ได้รับ ไม่ได้รับ ผู้รับบริการได้รับความรู้เรื่องวัณโรค ผู้รับบริการได้รับการสัมภาษณ์เพื่อคัดกรองในส่วนที่ 1 ผู้รับบริการได้รับการตรวจ AFB X 3 วัน ผู้รับบริการได้รับการส่งตรวจ CXR ส่วนที่ 3 ผลการคัดกรองวัณโรค 1. ผลการคัดกรองวัณโรค ( ) เป็นวัณโรค ( ) ไม่เป็นวัณโรค 2. ผลการคัดกรอง VDRL ( ) ปกติ ( ) Positive ( ) ไม่ได้ตรวจ VDRL

16 แบบประเมิน และคัดกรองภาวะสุขภาพ ทุก 6 เดือน
ชื่อ – สกุล รายการ วันที่ประเมิน 1.สถานภาพ ( ) โสด ( ) คู่ ( ) หม้าย ,แยกกัน 2. เพศสัมพันธ์ ( ) มี ( ) ไม่มี 3. การใช้ถุงยางอนามัย ( ) ไม่ใช้ ( ) ใช้ทุกครั้ง ( ) ใช้บางครั้ง 4. แหล่งถุงยาง ( ) รพ. ( ) PCU ( ) ซื้อ 5. การคุมกำเนิด ใช้วิธี 6. คู่ทราบผลเลือด ( ) ทราบ ( ) ไม่ทราบ 7. แนะนำให้คู่มาตรวจเลือด ( ) แนะนำ ( ) ไม่ได้แนะนำ 8. ผลเลือดของคู่ ( ) Negative ( ) Positive ( ) ไม่ทราบ 9. คัดกรองวัณโรค ( ) ไม่เสี่ยง ( ) AFB ( ) CXR ผล 10. คัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ( )ไม่มีอาการ ( ) มีอาการ 11.คัดกรอง VDRL วันที่ ผล 12. Pap’ smear วันที่ ผล 13.Routine Lab วันที่ 14. CXR ปีละ 1 ครั้ง วันที่

17 แบบบันทึกการให้คำปรึกษา ปัญหา / การให้คำปรึกษา
ชื่อ - สกุล วดป. ปัญหา / การให้คำปรึกษา การติดตาม บันทึกการใช้ยา ARV ชื่อ - สกุล HN………….. เดือน ปัญหาการขาดยา Adherance

18 ข้อเสนอแนะ / ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน
ด้านโปรแกรม - กรณีผู้ป่วยแพ้ยารักษา OI เวลาลงโปรแกรมข้อมูลจะขาดไป - การคิด Adherence ผู้บันทึกยังไม่ค่อยมั่นใจ ด้านผู้ป่วย - กรณีที่เป็นผู้ติดเชื้อ ไม่มีอาการ มักไม่มาตรวจตามนัด ทำให้ข้อมูลไม่ได้ตามเป้าหมาย - การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผู้รับบริการบางรายไม่ยินยอม ด้านผู้ให้บริการ - ผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น การทำงานเน้นคุณภาพมากขึ้น ภาระงานเพิ่มขึ้น


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google