สถานการณ์พลังงาน ปี 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การใช้น้ำมันดีเซลและเบนซิน (ม.ค.-มี.ค.)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 73.87% สพฉ % สวรส %
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
สัดส่วนการใช้น้ำมันสำเร็จรูป ปี 2557 (ม.ค.-มี.ค.)
สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
รายงานสรุปสถานการณ์น้ำ ประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2557
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
การใช้น้ำมันดีเซลและเบนซินรายเดือนปี 2556
แผนผัง พลังงานเชิงพาณิชย์ ปี 2550
สถานการณ์พลังงานไทย ปี 2554 และแนวโน้มปี 2555.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
สถานการณ์พลังงาน ปี 2556.
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี พ. ศ.2553 สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักบริหารกลาง 11 สิงหาคม 2553 ณ วันที่ 11 สิงหาคม
สำนักวิชาการและแผนงาน
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์พลังงาน ปี 2555

การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน   2554 2555p Q1 Q2 Q3 Q4 การใช้ 1,855 1,970 1,882 1,901 1,868 1,769 1,965 1,980 1,976 การผลิต 1,018 1,072 1,051 1,012 1,035 977 1,091 1,077 1,086 1,050 การนำเข้า (สุทธิ) 1,017 1,076 1,042 1,096 1,031 904 1,202 1,037 1,132 992 การนำเข้า / การใช้ (%) 55 58 51 54 53 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 4.0 6.3 4.5 4.8 5.5 -0.7 4.4 4.1 5.8 11.9 2.9 5.3 7.4 1.0 -1.7 3.8 6.5 5.0 7.5 การนำเข้า(สุทธิ) 1.6 1.4 12.6 -11.3 15.5 -5.5 9.8 9.9 GDP (%) 0.1 3.2 2.7 3.7 -8.9 0.4 3.0 14.2 P ข้อมูลเบื้องต้น การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ ไฟฟ้า รวม อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 5.1 7.9 4.9 3.8 6.3 มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ปี 2555 รวม 2.14 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ พลังงานทดแทน มูลค่าการใช้ (ล้านบาท) 1,304,462 548,935 123,197 32,745 130,959 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 6.9 16.4 26.1 5.0 3.9

มูลค่าการนำเข้าและมูลค่าการส่งออกพลังงาน ถ่านหิน 3% ไฟฟ้า 1% ไฟฟ้า 2% ก๊าซธรรมชาติ+LNG 10% น้ำมันดิบ 13% น้ำมันสำเร็จรูป 9% น้ำมันสำเร็จรูป 85% ปี 2555 ปี 2555 น้ำมันดิบ 77% มูลค่าการนำเข้าพลังงาน ปี 2555p รวม 1.44 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.6 มูลค่าการส่งออกพลังงาน ปี 2555p รวม 4.01 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.6 P ข้อมูลเบื้องต้น ปี 2555 น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติ +LNG ถ่านหิน ไฟฟ้า มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) 1,115,366 122,634 140,348 47,204 17,102 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 14.1 30.1 28.2 11.5 23.4 ปี 2555 น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) 52,401 341,033 8,129 อัตราการ เปลี่ยนแปลง (%) 31.3 22.6 96.4

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) การนำเข้าน้ำมันดิบ การนำเข้าน้ำมันดิบ 2551 2552 2553 2554 2555p อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปริมาณ (พันบาร์เรล/วัน) 812 803 816 794 858 1.6 -2.7 8.0 ราคาเฉลี่ย ($ US/บาร์เรล) 101 62 79 110 114 28.4 38.7 3.6 มูลค่า (พันล้านบาท) 1,003 623 751 977 1,115 20.6 30.1 14.1 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป หน่วย: ล้านลิตรต่อวัน ชนิด 2552 2553 2554 2555p อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) เบนซิน 20.6 20.3 20.1 21.1 6.0 -1.4 -1.2 4.8 ดีเซล 50.6 52.6 56.1 5.0 0.1 3.9 6.8 เครื่องบิน 12.1 12.9 13.9 -4.2 6.3 7.7 น้ำมันเตา 7.5 7.2 6.7 6.5 -16.7 -6.1 -4.0 LPG* 18.9 20.8 22.4 24.4 1.2 10.1 7.8 8.9 รวม 109.8 111.9 115.7 122.1 1.6 1.9 3.5 5.5 *ไม่รวมการใช้ LPG ที่ใช้เป็น Feed stocks ในปิโตรเคมี P ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินรายเดือน ล้านลิตร/วัน การใช้เพิ่มขึ้น เนื่องจากรถใหม่ที่เพิ่มขึ้น จากนโยบายรถคันแรก ปี 2555 เฉลี่ย 21.1 ปี 2552 เฉลี่ย 20.6 ปี 2553 เฉลี่ย 20.3 ปี 2554 เฉลี่ย 20.1 เกิดอุทกภัย ปี 2551 เฉลี่ย 19.5 ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล 95(E20) ล้านลิตร/วัน ปี 2552 เฉลี่ย 0.2 ปี 2553 เฉลี่ย 0.4 ปี 2554 เฉลี่ย 0.6 ปี 2555 เฉลี่ย 1.0 ปี 2551 เฉลี่ย 0.1 การใช้เพิ่มขึ้นเนื่องจาก มาตรการจูงใจด้านราคา และจำนวนสถานีบริการ ที่เพิ่มขึ้น ลดเงินส่งเข้ากองทุนน้ำมันฯ ของเบนซิน 95 และ 91 และเกิดอุทกภัย

การใช้ LPG โพรเพน และบิวเทน พันตัน สัดส่วน ปี 2555p 7,353 6,890 2% ใช้เอง 5,987 2% 5,208 ปิโตรเคมี 4% 35% 4,788 36% 5% 3% 31% รถยนต์ 23% 28% 14% 13% 11% 8% อุตสาหกรรม 16% 13% 10% 13% 14% 11% ครัวเรือน 43% 41% 39% 41% 44% การใช้ปี 2555p ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต์ ปิโตรเคมี ใช้เอง รวม ปริมาณการใช้ (พันตัน) 3,045 616 1,060 2,523 109 7,353 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 14.6 -14.1 15.2 2.3 -16.4 6.7 P ข้อมูลเบื้องต้น

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) การใช้น้ำมันในภาคขนส่งทางบก ล้านลิตรต่อวันเทียบเท่าน้ำมันดิบ สัดส่วน อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2555 NGV 21.4 LPG 15.2 ดีเซล 7.2 เบนซิน 5.0 รวม 8.5 NGV 11% LPG 6% ดีเซล 57% เบนซิน 26% การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน สัดส่วน อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2555 NGV 21.4 อุตสาหกรรม 11.0 โรงแยกก๊าซ 10.2 ผลิตไฟฟ้า 7.2 รวม 9.1 6% NGV อุตสาหกรรม 14% โรงแยกก๊าซ 21% ผลิตไฟฟ้า 59%

ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปี 2555 รวม 161,784 GWh PEA 111,723 GWh (69%) ลูกค้าตรง EGAT 1,817 GWh (1%) MEA 48,244 GWh (30%) รวม 161,784 GWh การใช้ Q1 Q2 Q3 Q4 รวม ปริมาณการใช้ (กิกะวัตต์-ชั่วโมง) 38,791 41,510 40,880 40,603 161,784 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 8.3 3.3 15.5 8.7

แนวโน้มการใช้พลังงาน ปี 2556

การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น หน่วย: พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบ/วัน   2551 2552 2553 2554 2555p 2556f การใช้ 1,618 1,663 1,783 1,855 1,969 2,076 น้ำมัน 634 643 652 674 708 735 ก๊าซธรรมชาติ 648 682 784 810 873 942 ถ่านหิน/ลิกไนต์ 301 303 310 317 332 347 พลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า 36 35 54 56 52 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)  0.9 2.8 7.2 4.0 6.2 5.4 -5.0 1.4 1.5 3.3 5.1 3.7 5.2 15.0 7.8 7.9 ลิกไนต์/ถ่านหิน 7.7 0.7 2.4 2.1 4.9 4.5 -17.4 -1.1 48.5 3.8 -6.7 สศช. คาดการณ์ GDP ปี 2556 ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 4.5-5.5 และคาดว่าราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยทั้งปี 2556 มีแนวโน้มอยู่ในช่วง 108 – 113 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ปี 2556 คาดว่าอยู่ที่ระดับ 2,086 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน ตามภาวะเศรษฐกิจที่คาดว่าจะมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2556 คาดว่าการใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นเกือบทุกประเภท โดยการใช้น้ำมันสำเร็จรูปคาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ก๊าซธรรมชาติคาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 ถ่านหินนำเข้าคาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 การใช้ไฟฟ้าพลังน้ำ คาดว่าจะลดลงร้อยละ 15.5 และการใช้ไฟจากไฟฟ้านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 ตามแผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ส่วนการใช้ลิกไนต์ลดลงร้อยละ 3.0 P ข้อมูลเบื้องต้น f ข้อมูลประมาณการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) การใช้น้ำมันสำเร็จรูป หน่วย: ล้านลิตร ชนิด 2552 2553 2554 2555p 2556f อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) เบนซิน 7,524 7,417 7,331 7,705 8,090 6.0 -1.4 -1.2 4.8 5.0 ดีเซล 18,465 18,480 19,192 20,565 21,100 0.1 3.9 6.8 2.6 เครื่องบิน 4,450 4,729 5,091 5,096 5,305 -4.2 6.3 7.7 4.1 น้ำมันเตา 2,731 2,615 2,456 2,363 2,318 -16.7 -6.1 -4.0 -1.9 LPG** 6,894 7,587 8,178 8,930 9,466 1.2 10.1 7.8 8.9 รวม 40,064 40,826 42,247 44,673 46,326 1.6 1.9 3.5 5.5 3.7 ในปี 2556 คาดว่าจะมีการใช้น้ำมันสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 3.7 โดยน้ำมันเบนซินจะมีการใช้เพิ่มขึ้นมากอย่างเห็นได้ชัด จากนโยบายรถยนต์คันแรกที่จะมีรถยนต์เข้าสู่ระบบประมาณ 1 ล้านคัน ซึ่งรถจำนวนดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นรถที่ใช้น้ำมันเบนซิน เมื่อคำนวณปริมาณน้ำมันที่จะมีการใช้เพิ่มขึ้น คาดว่าปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินจะอยู่ที่ 21.9 ล้านลิตรต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 จากปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินที่ค่อนข้างคงที่ประมาณ 20 ล้านลิตรต่อวัน สำหรับแนวโน้มการใช้น้ำมันดีเซลในปี 2556 คาดว่าจะมีการใช้อยู่ที่ 57.4 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 ตามภาวะเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา รวมทั้ง ถ้ารัฐบาลยังคงมีนโยบายให้คงราคาขายปลีกราคาน้ำมันดีเซลให้อยู่ในระดับต่ำ **ไม่รวมการใช้ LPG ที่ใช้เป็น Feed stocks ในปิโตรเคมี p ข้อมูลเบื้องต้น f ข้อมูลประมาณการ

การผลิต การใช้ และการนำเข้า LPG โพรเพน และบิวเทน หน่วย : พันตัน   2551 2552 2553 2554 2555p 2556f - การใช้ 4,788 5,208 5,987 6,890 7,353 7,709 ครัวเรือน 2,124 2,231 2,435 2,656 3,045 3,270 อุตสาหกรรม 665 593 778 718 616 632 รถยนต์ 776 666 680 920 1,060 1,133 feedstock 1,094 1,478 1,881 2,465 2,523 2,589 ใช้เอง 130 240 213 131 109 86 - การผลิต 4,355 4,467 4,416 5,422 5,995 6,048 - การนำเข้า 452 753 1,591 1,437 1,763 2,160 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 16.3 8.8 15.0 15.1 6.7 4.8 12.7 5.0 9.2 9.1 14.6 7.4 -10.8 31.3 -7.8 -14.1 2.5 35.6 2.1 35.3 15.2 6.9 13.0 35.1 27.3 31.1 2.3 2.6 61.8 84.2 -11.5 -38.5 -16.4 -21.2 การใช้ LPG ในปี 2556 จากการตรึงราคาขายปลีกก๊าซ LPG ในภาคครัวเรือนจนถึงสิ้นปี 2555 นโยบายที่จะปรับราคาให้สะท้อนต้นทุนที่ผลิตจากโรงแยกก๊าซในปี 2556 และแนวทางการบรรเทาความเดือดร้อนจากการปรับราคาขายปลีกกับกลุ่มที่มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ประกอบการร้านค้า หาบเร่ แผงลอย มาตรการนี้คาดว่าการใช้ในภาคครัวเรือนยังคงมีการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 7.4 ภาคอุตสาหกรรมมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 การใช้ในรถยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 ชะลอตัวลงจากปีที่ผ่านมาจากการปรับราคาและการส่งเสริมการใช้บัตรเครดิตพลังงาน การใช้ในภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมีคาดว่าจะไม่เปลี่ยนแปลงมากนักมีการใช้อยู่ที่ร้อยละ 2.6 เนื่องจากการผลิตในประเทศมีจำกัดและการนำเข้ามีราคาสูง จากปริมาณการใช้ LPG ที่เพิ่มขึ้นแต่ละสาขาคาดว่าจะทำให้ปริมาณการนำเข้า LPG สูงขึ้นกว่าปี 2555 P ข้อมูลเบื้องต้น f ข้อมูลประมาณการ

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา หน่วย: ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน สาขา 2552 2553 2554 2555p 2556f อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ผลิตไฟฟ้า 2,435 2,728 2,476 2,646 2,771 12.0 -9.3 7.1 4.8 โรงแยกก๊าซ 599 652 867 952 1,102 8.9 33.0 10.1 15.8 อุตสาหกรรม 387 478 569 630 670 23.5 19.2 10.9 6.3 NGV 143 181 231 279 306 26.8 27.5 21.4 9.7 รวม 3,564 4,039 4,143 4,508 4,848 13.3 2.6 9.1 7.6 การใช้ก๊าซธรรมชาติในปี 2556 คาดว่าจะอยู่ที่ระดับ 4,848 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 7.6 ตามการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ โดยคาดว่าในปี 2556 จะคาดว่ามีการใช้ก๊าซธรรมชาติในรถยนต์ (NGV)เฉลี่ยอยู่ที่ 8,513 ตันต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 9.5 ถ้ามีการปรับราคาขายปลีก NGV ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ 10.50 บาท/กก. อาจส่งผลให้การใช้ NGV ขยายตัวไม่สูงมากนัก หมายเหตุ : ค่าความร้อน 1 ลูกบาศก์ฟุตเท่ากับ 1,000 บีทียู P ข้อมูลเบื้องต้น f ข้อมูลประมาณการ

การผลิตไฟฟ้า ปี กิกะวัตต์ชั่วโมง การเปลี่ยนแปลง ร้อยละ(%) 2551 148,221 1,195 0.8 2552 148,364 137 0.1 2553 163,668 15,310 10.3 2554 162,343 -1,325 -0.8 2555p 176,187 13,844 8.5 25556f 186,583 10,395 5.9 พลังงานหมุนเวียน นำเข้า พลังน้ำ น้ำมัน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ คาดว่าในปี 2556 มีการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 P ข้อมูลเบื้องต้น f ข้อมูลประมาณการ

Back up

การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน ในประเทศ 67% สัดส่วน นำเข้า 33% 3% พลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า 17% ถ่านหิน/ลิกไนต์ ในประเทศ 31% นำเข้า69% นำเข้า 19% 44% ก๊าซธรรมชาติ ในประเทศ 81% ในประเทศ 15% น้ำมัน 36% นำเข้า85% P ข้อมูลเบื้องต้น การใช้ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ ไฟฟ้า รวม อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 5.1 7.9 4.9 3.8 6.3

มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ปี 2555p รวม 2.14 ล้านล้านบาท P ข้อมูลเบื้องต้น น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ ลิกไนต์ พลังงานทดแทน รวม อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 6.9 16.4 26.1 5.0 3.9 9.9

มูลค่าการนำเข้าพลังงาน ถ่านหิน 3% ไฟฟ้า 1% ก๊าซธรรมชาติ+LNG 10% น้ำมันสำเร็จรูป 9% ปี 2555 น้ำมันดิบ 77% มูลค่าการนำเข้าพลังงาน ปี 2555p รวม 1,442,653 ล้านบาท P ข้อมูลเบื้องต้น ปี 2555 น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติ +LNG ถ่านหิน ไฟฟ้า รวม มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) 1,115,366 122,634 140,348 47,204 17,102 1,442,653 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 14.1 30.1 28.2 11.5 23.4 16.6

มูลค่าการส่งออกพลังงาน ไฟฟ้า 2% น้ำมันดิบ 13% น้ำมันสำเร็จรูป 85% ปี 2555 มูลค่าการส่งออกพลังงาน ปี 2555p รวม 401,564 ล้านบาท P ข้อมูลเบื้องต้น ปี 2555 น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า รวม มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) 52,401 341,033 8,129 401,564 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 31.3 22.6 96.4 24.6

ปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินรายเดือน ล้านลิตร/วัน รถใหม่เพิ่มขึ้น จากนโยบายรถคันแรก ปี 2555 เฉลี่ย 21.1 ปี 2552 เฉลี่ย 20.6 ปี 2553 เฉลี่ย 20.3 ปี 2554 เฉลี่ย 20.1 เกิดอุทกภัย ปี 2551 เฉลี่ย 19.5 อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 0.3 -1.9 4.0 -0.5 3.4 1.9 3.7 1.2 13.7 20.7 11.0 4.8 จากเดือนก่อน -3.7 2.2 -1.2 -0.7 -3.1 1.7 -2.6 5.8 5.5 *ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอลรายเดือน รัฐบาลลดเงินส่งเข้า กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง เบนซิน 95 และ 91 และเกิดอุทกภัย ล้านลิตร/วัน รัฐบาลส่งเสริมการใช้ แก๊สโซฮอล 91 ในรถจักรยานยนต์ การใช้เพิ่มขึ้นเนื่องจาก ราคาแก๊สโซฮอล ถูกกว่าเบนซินมาก ปี 2550 เฉลี่ย 4.8 ปี 2551 เฉลี่ย 9.2 ปี 2552 เฉลี่ย 12.2 ปี 2553 เฉลี่ย 12.0 ปี 2554 เฉลี่ย 11.5 ปี 2555 เฉลี่ย 12.2 ปริมาณการใช้แก๊สโซฮอล์ในปี 2555 เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 12 ล้านลิตร/วัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 11.5 ล้านลิตร/วัน การใช้แก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีราคาถูกกว่าเบนซินจากการสนับสนุนให้ใช้พลังงานทดแทนของรัฐบาล ทั้งนี้ กพช. มีมติกำหนดการยกเลิกน้ำมันเบนซิน 91 ในวันที่ 1 มกราคม 2556 และกรมธุรกิจพลังงานออกประกาศกำหนดมาตรฐานให้น้ำมันเบนซินเหลือเพียงชนิดเดียว ใช้ชื่อว่า “น้ำมันเบนซิน” ที่มีออกเทน 95 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนหันมาใช้แก๊สโซฮอลกันมากขึ้นในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 -11.6 -12.1 -8.0 -9.9 -7.6 -7.3 -5.6 3.2 22.5 44.2 57.5 34.3 5.5 จากเดือนก่อน -1.1 3.8 -0.5 3.1 -1.6 4.1 -0.6 5.1 -1.0 7.0 9.0 *ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล 91(E10) รายเดือน ล้านลิตร/วัน ปี 2550 เฉลี่ย 0.67 ปี 2552 เฉลี่ย 3.9 ปี 2553 เฉลี่ย 4.3 ปี 2555 เฉลี่ย 5.8 ปี 2554 เฉลี่ย 5.1 ปี 2551 เฉลี่ย 2.5 รัฐบาลลดเงินส่งเข้า กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง เบนซิน 95 และ 91 และเกิดอุทกภัย การใช้เพิ่มขึ้นเนื่องจาก ราคาแก๊สโซฮอล ถูกกว่าเบนซินมาก การใช้แก๊สโซฮอล์ 91(E10) ในปี 2555 อยู่ที่ระดับ 5.7 ล้านลิตร/วัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 5.1 ล้านลิตร/วัน การใช้แก๊สโซฮอล์ 91(E10) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 จากการสนับสนุนให้ใช้พลังงานทดแทนของรัฐบาลและมาตรการจูงใจทางด้านราคา อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 8.4 6.7 8.8 5.3 5.4 4.3 3.9 11.3 15.2 31.1 44.2 27.4 13.7 จากเดือนก่อน -1.7 4.2 0.7 3.3 -2.0 3.1 -1.3 -0.6 2.4 7.3 *ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล 95(E10) รายเดือน ล้านลิตร/วัน ปี 2550 เฉลี่ย 4.2 ปี 2552 เฉลี่ย 8.1 ปี 2553 เฉลี่ย 7.4 ปี 2554 เฉลี่ย 5.8 ผู้ใช้รถส่วนหนึ่งเปลี่ยนไปใช้ น้ำมันแก๊สโซฮอล 95(E20) จากมาตรการจูงใจด้านราคา และจำนวนสถานีบริการที่เพิ่มขึ้น การใช้เพิ่มขึ้นเนื่องจาก ราคาแก๊สโซฮอล ถูกกว่าเบนซินมาก รัฐบาลลดเงินส่งเข้า กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง เบนซิน 95 และ 91 และเกิดอุทกภัย ปี 2551 เฉลี่ย 6.7 ปี 2555 เฉลี่ย 5.3 ปริมาณการใช้แก๊สโซฮอล์ 95(E10) ในปี 2555 เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 5.2 ล้านลิตร/วัน ลดลงจากปี 2554 ซึ่งอยู่ที่ 5.8 ล้านลิตร/วัน เนื่องจากประชาชนส่วนหนึ่งหันมาใช้แก๊สโซฮอล์ 95(E20) มากขึ้น จากมาตรการส่งเสริมการใช้และมาตรการจูงใจทางด้านราคา อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 -29.5 -29.1 -24.8 -25.6 -21.8 -20.9 -18.3 -10.8 22.1 46.1 51.7 22.3 -9.2 จากเดือนก่อน -0.9 3.3 -2.2 2.3 4.6 -1.0 -2.9 1.5 6.2 7.6 *ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล 95(E20) รายเดือน การใช้เพิ่มขึ้นเนื่องจาก มาตรการจูงใจด้านราคา และจำนวนสถานีบริการที่เพิ่มขึ้น ล้านลิตร/วัน ปี 2552 เฉลี่ย 0.2 ปี 2553 เฉลี่ย 0.4 ปี 2554 เฉลี่ย 0.6 ปี 2555 เฉลี่ย 1.0 ปี 2551 เฉลี่ย 0.1 รัฐบาลลดเงินส่งเข้า กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง เบนซิน 95 และ 91 และเกิดอุทกภัย ปริมาณการใช้แก๊สโซฮอล์ 95(E20) ในปี 2555 เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 1.0 ล้านลิตร/วัน โดยปี 2555 มีอัตราการเพิ่มขึ้นมาก จากปี 2554 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 0.6 ล้านลิตร/วัน เนื่องจากมาตรการจูงใจด้านราคา โดยเพิ่มส่วนต่างราคาขายปลีก E20 และ E10 ให้ต่างกันมากขึ้น และผู้ค้าน้ำมันขยายจำนวนสถานีจำหน่ายเพิ่มขึ้น โดยปัจจุบันมีสถานีบริการทั้งสิ้น 1,234 แห่ง ทำให้ประชาชนส่วนหนึ่งหันมาใช้แก๊สโซฮอล์ 95(E20) มากขึ้น เอทานอล ปัจจุบันมีกำลังการผลิต 3.27 ล้านลิตร/วัน และใช้เป็นพลังงาน 1.84 ล้านลิตร/วัน โดยแผน ADEP จะเพิ่มปริมาณการผลิตให้อยู่ที่ 9 ล้านลิตร/วัน ในปี พ.ศ. 2564 (10 ปี ข้างหน้า) ราคาเฉลี่ยเอทานอลของปี 2555 อยู่ที่ราคา 20.80 บาท/ลิตร อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 39.5 27.9 30.5 24.0 21.5 26.8 28.8 52.6 70.3 124.1 196.2 155.3 65.0 จากเดือนก่อน 1.6 3.6 1.8 7.2 -3.5 7.0 4.8 19.4 6.8 13.5 17.9 20.2   *ข้อมูลเบื้องต้น

ต.ค.-พ.ย.54 เกิดวิกฤตอุทกภัย ยอดจำหน่ายน้ำมันเบนซิน และน้ำมันแก๊สโซฮอล และราคาน้ำมันเบนซินเฉลี่ย ปี 2553-2555* 2553 2554 2555 ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวสูงตามราคาน้ำมันดิบโลก ม.ค.55 รัฐบาลเรียกเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันในส่วนของเบนซินและแก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้น 1 บาท/ลิตร ปรับราคาน้ำมันเบนซินลดลงตั้งแต่ 27 ส.ค. 54 ราคาน้ำมัน เบนซินเฉลี่ย 14 พ.ค.55 ยกเลิกการปรับเพิ่มอัตราเงินส่งเข้ากองทุน ของเบนซิน 1 บาท/ลิตร 16 เม.ย.55 ปรับเพิ่มอัตราเงินส่งเข้ากองทุนของเบนซิน 1 บาท/ลิตร แก๊สโซฮอล เบนซิน ต.ค.-พ.ย.54 เกิดวิกฤตอุทกภัย การใช้น้ำมันเบนซินปี 2555 อยู่ที่ระดับ 20.8 ล้านลิตร/วัน แบ่งเป็น (1) การใช้แก๊สโซฮอล คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 58 ของน้ำมันเบนซินทั้งหมด อยู่ที่ระดับ 12.0 ล้านลิตร/วัน (2) การใช้น้ำมันเบนซิน ที่เหลือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 42 ของน้ำมันเบนซินทั้งหมด อยู่ที่ระดับ 8.8 ล้านลิตร/วัน โดยมีราคาขายปลีกน้ำมันเบนซินเฉลี่ยปี 2555 อยู่ที่ระดับ 43.14 บาท/ลิตร หมายเหตุ : เบนซิน หมายถึงเบนซิน 91 และเบนซิน 95 แก๊สโซฮอล หมายถึง แก๊สโซฮอล 91 E10, 95 E10, 95 E20 และ 95 E85 * ธ.ค.55 ข้อมูลเบื้องต้น

ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลรายเดือน ล้านลิตร/วัน ปี 2555 เฉลี่ย 56.1 ปี 2552 เฉลี่ย 50.6 ปี 2553 ปี 2554 เฉลี่ย 52.6 ปี 2551 เฉลี่ย 48.2 อัตราการเปลี่ยนแปลงปี 2555  Growth (%) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.* ม.ค.-ธ.ค. จากช่วงเดียวกันของปี 54 4.4 9.7 7.2 3.9 7.0 5.8 8.3 7.7 3.3 11.0 11.4 2.5 6.8 จากเดือนก่อน -5.4 0.9 -2.6 1.4 -2.7 -6.2 0.5 -3.3 4.0 8.7 *ข้อมูลเบื้องต้น

ยอดจำหน่ายน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว และไบโอดีเซล และราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ปี 2553-2555* 2554 2555 16 ม.ค.55 ปรับเพิ่มอัตราเงินส่งเข้ากองทุน 0.60 บาท/ลิตร ทำให้ราคาอยู่ที่ 31.13 บาท/ลิตร ราคาน้ำมันเริ่มปรับตัวสูงตามราคาน้ำมันดิบโลก ฤดูฝน และอุทกภัย ปรับราคาน้ำมันดีเซลลดลงตั้งแต่ 27 ส.ค. 54 14 พ.ค.55 ยกเลิกการปรับเพิ่มอัตราเงินส่งเข้าองทุนดีเซล 0.60 บาท/ลิตร ไบโอดีเซล ต.ค.-พ.ย. ฤดูฝนและ อุทกภัยครั้งใหญ่ ก.พ. 54 ปรับสัดส่วน บี 100 เหลือ 2% ม.ค. 55 รัฐบาลยกเลิกการตรึงราคาขายปลีกน้ำมันดีเซล ตั้งแต่ มิ.ย. ปรับอัตราเงินส่งเข้ากองทุนและชดเชยดีเซลให้ราคา ไม่เกิน 30 บาท/ลิตร พ.ค. 54 เพิ่มสัดส่วน บี 100 จาก 2% เป็น 3% การผลิตไบโอดีเซล (B100) ปัจจุบันมีกำลังการผลิตรวม 5.26 ล้านลิตร/วัน โดยมีการผลิตเพื่อใช้เป็นพลังงาน 2.45 ล้านลิตร/วัน เพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อนที่อยู่ที่ระดับ 1.71 ล้านลิตร/วัน ราคาเฉลี่ย B100 ของปี 2555 อยู่ที่ราคา 34.35 บาท/ลิตร โดยแผน ADEP จะเพิ่มปริมาณการผลิตเพื่อใช้เป็นพลังงานให้อยู่ที่ระดับ 5.97 ล้านลิตร/วัน ในปี พ.ศ. 2564 (10 ปี ข้างหน้า) ดีเซลหมุนเร็ว ต.ค. 54 เพิ่มสัดส่วน บี 100 จากขั้นต่ำ 4% เป็น 5% * ธ.ค.55 ข้อมูลเบื้องต้น

การใช้ NGV 2551 2552 2553 2554 2555* จำนวนรถ NGV (คัน) 127,735 162,023 225,668 300,581 374,857 - รถเบนซิน 104,553 133,777 191,233 260,520 331,943 - รถดีเซล 23,182 28,246 34,435 40,061 42,914 ปริมาณ NGV ที่ใช้ (ตัน/วัน) 2,149 3,971 5,033 6,415 7,743 (ล้านลบ.ฟุต/วัน) 77 143 181 231 279 ทดแทนน้ำมัน (%) 3.2 5.5 6.9 8.5 9.9 - เบนซิน 5.9 9.6 12.3 16.4 19.9 - ดีเซล 2.1 3.8 4.6 5.1 จำนวนสถานีบริการ (แห่ง) 303 382 428 465 483 การใช้ NGV มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอด โดยในปี 2555 มีการใช้ NGV เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 7,718 ตัน/วัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่อยู่ที่ระดับ 6,415 ตัน/วัน โดยปัจจุบันมีจำนวนรถ NGV ทั้งหมด 367,816 คัน ทดแทนน้ำมันเบนซินและดีเซลรวมกันได้ร้อยละ 10 (หรือทดแทนน้ำมันเบนซินได้ร้อยละ 20 และทดแทนน้ำมันดีเซลได้ร้อยละ 5) มีจำนวนสถานีบริการ NGV ทั้งหมด 481 สถานี * เบื้องต้น

การใช้ลิกไนต์/ถ่านหิน หน่วย: พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ   2554 2555p ปริมาณ เปลี่ยนแปลง (%) สัดส่วน ความต้องการใช้ 15,808 16,622 5.2 การใช้ลิกไนต์ 5,614 4,947 -11.9 100 ผลิตกระแสไฟฟ้า 4,251 4,153 -2.3 84 อุตสาหกรรม 1,363 794 -41.7 16 การใช้ถ่านหิน 10,194 11,675 14.5 ผลิตกระแสไฟฟ้า (IPP) 2,406 3,347 39.1 29 ผลิตกระแสไฟฟ้า (SPP) 1,440 1,509 4.7 13 6,347 6,819 7.4 58 การใช้ลิกไนต์/ถ่านหิน ปี 2555 มีการใช้อยู่ที่ระดับ 16,647 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 5.3 ซึ่งปริมาณการใช้ลิกไนต์อยู่ที่ระดับ 4,930 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ ลดลงร้อยละ 12.2 โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 85 ของลิกไนต์ทั้งหมด ถูกนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. และส่วนที่เหลือนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 15 ซึ่งอุตสาหกรรมที่มีการนำไปใช้มากที่สุดคือการผลิตปูนซีเมนต์ การใช้ถ่านหินนำเข้า ปี 2555 มีปริมาณการใช้ที่ระดับ 11,717 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.9 ภาคอุตสาหกรรมเป็นสาขาหลักที่มีการใช้ถ่านหินมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 58 ส่วนที่เหลือนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าของ IPP และ SPP โดยในปีนี้ IPP มีการใช้ถ่านหินมากขึ้น เนื่องจากโรงไฟฟ้าเก็คโค่ วัน ขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง 660 เมกะวัตต์ ได้เริ่มขายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2555 เป็นต้นมา P ข้อมูลเบื้องต้น