สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม 2546
วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของ ประชาชนเกี่ยวกับ Hการกู้ยืมเงินกองทุนฯ Hการนำเงินกู้จากกองทุนฯ ไปลงทุน Hการชำระหนี้คืนกองทุนฯ Hการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนฯ Hผลกระทบในชุมชน หลังจากการมีกองทุนฯ เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นแนวทาง ในการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงโครงการฯ ต่อไป เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นแนวทาง ในการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงโครงการฯ ต่อไป
ระเบียบวิธีการสำรวจ แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified three-stage sampling มีจำนวน ประชากรที่ตกเป็นตัวอย่างทั้งสิ้น 5,900 ราย คุ้มรวม ประชาชนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล (สุขาภิบาลเดิม) และนอกเขตเทศบาลของทุกจังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมือง การเสนอผลการสำรวจ เสนอผลในระดับภาค และทั่วประเทศ ในรูปร้อยละ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล G ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ มิถุนายน 2546 G ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน สถิติแห่งชาติ ไปทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือน ตัวอย่างที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ครัวเรือนละ 1 คน
ความคิดเห็นของผู้ที่เป็นสมาชิก กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง
การกู้เงินของสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ ใต้ รวม กลางเหนือต.อ.น กทม. ภาค กู้ ไม่กู้
จำนวนครั้งของการกู้เงินกองทุนฯ ร้อยละ เหนือ รวม กลางต.อ.นใต้ กทม. ภาค ร้อยละ กู้ 2 ครั้ง เหนือ รวม กลางต.อ.นใต้ กทม. ภาค กู้ครั้งเดียว กู้ 3 ครั้งขึ้นไป
การนำเงินกู้จากกองทุนฯ ไปลงทุน ลงทุนในอาชีพเสริม ลงทุนอาชีพใหม่ ใช้หนี้แหล่งเงินกู้อื่น ลงทุนร่วมกับสมาชิกคนอื่น ๆ บรรเทาเหตุฉุกเฉิน อื่น ๆ ลงทุนพัฒนาอาชีพหลัก ( อาชีพเดิม ) ร้อยละ การนำเงินกู้กองทุนฯไปลงทุน
ร้อยละ เพียงพอ ไม่เพียงพอ ใต้รวมกลางเหนือต.อ.นกทม. ความเพียงพอในการนำเงินกู้ไปลงทุน ภาค
ความสามารถชำระหนี้คืนกองทุนฯ ร้อยละ เหนือรวมกลางต.อ.นใต้กทม. สามารถชำระหนี้ได้ ไม่สามารถชำระหนี้ได้ ภาค
แหล่งเงินที่นำมาชำระหนี้ที่กู้จากกองทุนฯ รายได้จากการลงทุนของเงินกู้ รายได้อื่นของครอบครัว เงินกู้จากแหล่งอื่น เงินสะสมของครอบครัว อื่น ๆ ร้อยละ แหล่งที่นำเงินมาชำระหนี้ฯ
ร้อยละ เหนือกลางต.อ.นใต้ กทม. ดีกว่า เท่ากัน แย่กว่า ภาค รวม ความสะดวกและทันต่อเวลาของ การกู้เงินจากกองทุนฯ เมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงิน
ความคิดเห็นของสมาชิกกองทุนฯ เกี่ยวกับการนำดอกผล ที่ได้จากกองทุนฯ ไปทำประโยชน์ให้กับสมาชิกในชุมชนฯ ร้อยละ นำไปใช้ประโยชน์ ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ภาค เหนือกลางต.อ.นใต้ กทม. รวม
ความคิดเห็นของสมาชิกกองทุนฯ เกี่ยวกับ ความสามารถในการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนฯ ร้อยละ มาก ปานกลาง น้อย รวม ผู้ที่กู้ ผู้ไม่กู้ การกู้เงินกองทุนฯ ของสมาชิก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง
% % % % % % % % % รายได้ของครัวเรือน การพัฒนาอาชีพของประชาชน การมีงานทำ/ ทางเลือก ประกอบอาชีพในชุมชน ดีขึ้น เท่าเดิม ลดลง ผลกระทบในชุมชนหลังจากมีกองทุนฯ
การประสบปัญหาเรื่องเงินทุน สำหรับประกอบอาชีพหลังจากมีกองทุนฯ ร้อยละ ใต้ รวม กลางเหนือต.อ.น กทม. ภาค ไม่มีปัญหา มีปัญหา
ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย ร้อยละ เหนือรวมกลาง ต.อ.น ใต้ กทม. ภาค ความคิดเห็นการเพิ่มเงินให้กองทุนฯ โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการบริหารจัดการกองทุนฯ
ร้อยละ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย รวม ผู้ที่กู้ผู้ไม่กู้ (รวมผู้ไม่เป็นสมาชิกกองทุนฯ) การกู้เงินกองทุนฯ ของประชาชน ความคิดเห็นการเพิ่มเงินให้กองทุนฯ โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการบริหารจัดการกองทุนฯ
การขอกู้เงินกองทุนฯ ในอนาคต ไม่กู้อีก จะกู้อีก ร้อยละ เหนือรวมกลางต.อ.น ใต้ กทม. ภาค
ไม่กู้อีก จะกู้อีก ร้อยละ รวม ผู้ที่กู้ผู้ไม่กู้ (รวมผู้ไม่เป็นสมาชิกกองทุน) การกู้เงินกองทุนฯ ของประชาชน การขอกู้เงินกองทุนฯ ในอนาคต
ไม่มีประโยชน์ มีประโยชน์ ร้อยละ เหนือรวมกลางต.อ.น ใต้ กทม. ภาค ความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของกองทุนฯ
มาก ปานกลาง น้อย ร้อยละ เหนือ รวม กลาง ต.อ.น ใต้ กทม. ภาค การเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนของกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะ ร้อยละ รวม แสดงความคิดเห็น ควรเพิ่มยอดเงินและให้กู้เฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ควรขยายระยะเวลาคืนเงินกู้และให้ลดดอกเบี้ยลง ควรกระจายเงินกู้ให้ทั่วถึงและเป็นธรรม ให้มีเจ้าหน้าที่ของรัฐมาให้คำแนะนำ และ ประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง อื่น ๆ ไม่แสดงความคิดเห็น P ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ หมายเหตุ P