การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ กล่าวทักทาย
ประเด็นการนำเสนอ ความหมายของรายได้แผ่นดิน ความหมายของรายได้เงินนอกงบประมาณ การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ ปัญหาที่ตรวจพบจากการบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน และการบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ
ประเภทเงินของส่วนราชการ รายได้เงินนอกงบประมาณ เงินงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน รายได้แผ่นดิน คือ เงินทุกประเภทที่ส่วนราชการจัดเก็บและจะต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ไม่สามารถนำไปใช้ได้ เว้นแต่ มีกฎหมายหรือทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่ออนุญาตให้นำเงินดังกล่าวไปใช้ได้ โดยอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้น ๆ เงินงบประมาณ คือ จำนวนเงินที่มีได้รับอนุญาตให้จ่ายได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณ
รายได้แผ่นดิน เก็บรักษา นำส่งคลัง เอกสาร ลงบัญชี ทะเบียนรับเช็ค รับเงินรายได้ -เงินสด -เช็ค เก็บรักษา นำส่งคลัง RP RP เอกสาร ทะเบียนรับเช็ค การรับเงินรายได้ เงินสด/เช็ค รับรู้เป็นเงินสด เช็คจะต้องมีการจัดทำทะเบียนคุมเช็คและนำส่งภายในวันที่ได้รับหรือวันถัดไป เก็บรักษาเงิน ให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่ถ้าเกิน 10,000 จะต้องนำส่งภายในสามวันทำการ นำส่งคลัง การนำเงินส่งธนาคาร จะต้องโหลดใบ Pay in slip เมื่อนำส่งเงินที่ธนาคารแล้วรับใบรับเงิน Deposit recept จากธนาคารพร้อมตรวจสอบ เอกสาร จากทั้งสามขั้นตอนเราจะได้เอกสารเพื่อการบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน ลงบัญชี ลงบัญชี GL
รายได้แผ่นดิน (ต่อ) AP AP GL ขอถอนคืน ภายในปี ข้ามปี รายได้นำส่ง กม./ระเบียบ/ตกลง กค. รายได้นำส่ง เงินงบประมาณ ขอเบิก รับเงิน ลงบัญชี เอกสาร การขอถอนคืน มี 2 วิธี ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง การถอนคืนภายในปีที่นำส่งเงินให้เบิกจากเงินรายได้ที่นำส่ง แต่ถ้าข้ามปีให้เบิกจากงบประมาณรายจ่ายของปีที่ถอนคืน 2. ด้วยวิธีหักจากรายรับที่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องตกลงกระทรวงการคลัง เช่น การส่งเกิน ส่งซ้ำ หรือส่งผิด ซึ่งจะต้องเป็นรายรับประเภทเดียวกัน ขบวนงานการถอนคืน 1.การขอเบิกเช่นเดียวกับการขอเบิกเงินจากระบบ 2.และเมื่อกรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชี หน่วยงานก็เบิกจ่ายให้กับผู้มีสิทธิ 3.ซึ่งกระบวนงานเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีการบันทึกบัญชีทั้งสิ้น AP GL จ่ายเงิน
การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง จัดเก็บรายได้แผ่นดิน (สิ้นปี) รับเงิน (ภายในปีงบประมาณ) ปรับปรุงบัญชี (สิ้นปีงบประมาณ) นำส่งเงิน (ปีงบประมาณใหม่) อธิบายความสัมพันธ์ของกระบวนงานรายได้แผ่นดินรอนำส่ง ทำไมจึงต้องปรับปรุงบัญชี รับเงินตอนไหน ปรับปรุงตอนไหน และบันทึกนำส่งเงินตอนไหน
การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกรับเงิน ZRP_RA/นส 01 DR. เงินสดในมือ 11,000 CR. รายได้(ระบุประเภท) นำเงินส่งธนาคาร Auto ประเภท CJ ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอน รายได้แผ่นดินให้ บก. พักเงินนำส่ง/พักรอ Clearing (เช็ค) บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R1/สน 02-1 พักเงินนำส่ง ขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1.ให้บันทึกรับเงินทันทีที่หน่วยงานจับเก็บรายได้ 1.1 รับเงินสด และรับรู้รายได้ 2.หลังจากนั้นเราก็นำเงินไปส่งที่ธนาคาร 2.1 ใบนำส่งเงิน pay in slip เน้นให้โหลด ที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายเท่านั้น 2.2 ใบรับเงิน Deposit reciedt 2.3 คู่บัญชี 3. บันทึกนำส่ง
รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี รายงานงบทดลอง รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี ประจำงวด 001 ถึง 09 ประจำปี 2008 บัญชีแยกประเภท เดบิต เครดิต ยอดยกไป 1101010101 เงินสดในมือ 11,000.00 0.00 1101010104 เงินทดรองราชการ 600,000.00 1101010112 พักเงินนำส่ง 1101010113 พักรอ Clearing 1101020501 เงินฝากคลัง 773,840.22 -1,162,215.17 366,546.56 1206160101 ครุภัณฑ์อื่น 1,712,908.83 1206160103 คสส ครุภัณฑ์อื่น -1,712,896.82 2101010102 จ/น การค้า-ภายนอก 8,739,461.10 -8,739,461.10 2101010103 รับสินค้า / ใบสำคัญ 8,848,406.79 -8,848,406.79 2101020198 จน.อื่น-หน่วยงานรัฐ 2,083,166.19 -2,083,166.19 2102040103 W/H tax-บุคคล(03) 39,945.33 -39,945.33 42XXXXXXXX ร/ดที่(ระบุประเภท) 4302030101 ร/ดจากการบริจาค -18,698.90 4308010101 TR-สรก.รับเงินนอก -1,162,190.12 4308010105 T/R-ปรับเงินฝากคลัง 25.05 -773,840.22 -773,815.17 5101010101 เงินเดือน 19,686,374.00 -7,382,254.00 12,304,120.00 5101010103 เงินประจำตำแหน่ง 44,800.00 -16,800.00 28,000.00 5210010102 T/E-โอนเงินให้สรก. 773,815.17 5210010103 T/E-โอนร/ดผ/ดให้บก. 5210010105 T/E-ปรับเงินฝากคลัง 1,162,190.12 อธิบายความสัมพันธ์ตามขั้นตอนการบันทึก
เอกสารนำส่งเงินธนาคาร -สังเกตรหัสบาร์โค้ต และชื่อหน่วยงาน -จำนวนเงิน -ช่องประเภทการนำส่ง
-หนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน- สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 11,000.00 11,000.00 สาขาย่อยอุบลฯ สาขาอุบลฯ สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 11,000.00 สังเกต จำนวนเงินให้ตรงกับประเภทนำส่ง ความสำพันธ์ของ คีย์อ้างอิง 3 0.00 -หนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน- 11,000.00
รายงานแสดงเงินรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้และนำส่งคลัง (ZRPE_R001) รายงานแสดงการจัดเก็บและนำส่งรายได้ของตนเอง เป็นรายงานที่สามารถเรียกเป็นงวด -แสดงการจัดเก็บรายได้โดยแยกตามประเภทรายได้ ความหมายของเลขหมวดรายได้ 57+1+9+200 -แสดงจำนวนเงินที่จัดเก็บแต่ละประเภทรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่นำส่งแล้ว -แสดงจำนวนเงินคงเหลือจากรายได้ที่จัดเก็บแต่ยังไม่ได้นำส่ง -อีกทั้งยังแสดงภาพรวมของเงินรายได้ที่จัดเก็บและยังไม่ได้นำส่ง ประโยชน์ของรายงานตัวนี้ช่วยให้เราทราบว่ามีรายได้ประเภทใดบ้างที่ยังไม่นำส่ง ถ้าสังเกต หากมียอดรายได้ที่ยังไม่นำส่ง ..... คิดว่าจะมีรายงานใดอีกมั๊ยค่ะที่จะมียอดเงินให้เห็นค่ะ
การบันทึกบัญชีขอถอนคืนรายได้แผ่นดิน บันทึกขอถอนคืนรายได้แผ่นดิน ZFB60_K6/ขบ 06 Dr. รายได้ที่ไม่ใช้ภาษีอื่นจ่ายคืน 1,000 Cr. ใบสำคัญค้างจ่าย ระบบบันทึก Auto ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินถอนคืนรายได้จากรัฐบาล บก.สั่งจ่ายเงินเข้าบัญชี ส่วนราชการ เงินฝากธนาคาร(เงินงบประมาณ) บันทึกจ่ายชำระให้ผู้มีสิทธิ ZF_53_PM/ขจ 05 -เมื่อไหร่จึงจะสามารถบันทึกขอเบิกถอนคืนรายได้ ขั้นตอนการบันทึก ลงรายละเอียดแต่ละขั้นตอน
รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี รายงานงบทดลอง รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี ประจำงวด 001 ถึง 09 ประจำปี 2008 บัญชีแยกประเภท เดบิต เครดิต ยอดยกไป 1101010101 เงินสดในมือ 11,000.00 0.00 1101010104 เงินทดรองราชการ 600,000.00 1101010112 พักเงินนำส่ง 1101010113 พักรอ Clearing 1101020501 เงินฝากคลัง 773,840.22 -1,162,215.17 366,546.56 1101020603 ง/ฝ ธนาคาร-ในงปม. 1,000.00 1102050124 ค้างรับจาก บก. 1206160101 ครุภัณฑ์อื่น 1,712,908.83 1206160103 คสส ครุภัณฑ์อื่น -1,712,896.82 2102040102 ใบสำคัญค้างจ่าย 2101010103 รับสินค้า / ใบสำคัญ 8,848,406.79 -8,848,406.79 3105010101 ทุนของหน่วยงาน -31,949,940.31 42XXXXXXX ร/ด(ระบุประเภท) 4207010102 ร/ดที่ไม่ใช่ภาษีอื่นจ่ายคืน 4302030101 ร/ดจากการบริจาค -18,698.90 4308010111 TR-รับเงินถอนคืนรายได้ฯ 4308010101 TR-สรก.รับเงินนอก -1,162,190.12 4308010105 T/R-ปรับเงินฝากคลัง 25.05 -773,840.22 -773,815.17 5101010101 เงินเดือน 19,686,374.00 -7,382,254.00 12,304,120.00 5210010102 T/E-โอนเงินให้สรก. 773,815.17 5210010103 T/E-โอนร/ดผ/ดให้บก. 5210010105 T/E-ปรับเงินฝากคลัง 1,162,190.12 บรรยายความสัมพันธ์แต่ละบัญชีที่บันทึก
รายงานแสดงสรุปการจัดเก็บ นำส่งและถอนคืนรายได้(ZRP_R02) รายงานแสดงการจัดเก็บและนำส่งรายได้ของตนเอง เป็นรายงานที่สามารถเรียกเป็นงวด -แสดงการจัดเก็บรายได้โดยแยกตามประเภทรายได้ ความหมายของเลขหมวดรายได้ 57+1+9+200 -แสดงจำนวนเงินที่จัดเก็บแต่ละประเภทรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่นำส่งแล้ว -แสดงจำนวนเงินคงเหลือจากรายได้ที่จัดเก็บแต่ยังไม่ได้นำส่ง -อีกทั้งยังแสดงภาพรวมของเงินรายได้ที่จัดเก็บและยังไม่ได้นำส่ง ประโยชน์ของรายงานตัวนี้ช่วยให้เราทราบว่ามีรายได้ประเภทใดบ้างที่ยังไม่นำส่ง ถ้าสังเกต หากมียอดรายได้ที่ยังไม่นำส่ง ..... คิดว่าจะมีรายงานใดอีกมั๊ยค่ะที่จะมียอดเงินให้เห็นค่ะ วัตถุประสงค์ : เพื่อดูเรียกรายงานของเงินรายได้แผ่นดินที่ทำการจัดเก็บและรายได้ที่นำส่งคลัง เรียกดูผ่านเครื่อง GFMIS Terminal เมนู : SAP Menu ส่วนเพิ่มเติม ส่วนเพิ่มเติม – ระบบรายได้และการนำส่งรายได้ รายงาน ZRP_RPT001-รายงานแสดงเงินรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้ และนำส่งคลัง รายงานสามารถ Drill down โดยการ double click ที่บรรทัดรายการเพื่อดูรายละเอียดได้ ใน Column รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้ และ Column รายได้แผ่นดินที่นำส่งคลัง โดยสามารถดูได้ถึงเอกสารที่บันทึกในระบบ
การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง บันทึกรับเงิน ZRP_RA/นส 01 Dr. เงินสดในมือ 8,000 Cr. รายได้(ระบุประเภท) บันทึกปรับปรุงบัญชี ZFV 50_SQ/บช04 เป็นเอกสารพัก Dr. รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ 8,000 Cr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง กรมบัญชีกลาง ผ่านรายการ Auto ส่วนราชการ Dr. ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-รายได้แผ่นดินรอนำส่ง 8,000 Cr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง กรมบัญชีกลาง รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ รายได้ระหว่างหน่วยงาน-รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง อธิบายก่อนสิ้นปีงบประมาณ อธิบายบันทึกรับเงิน บันทึกปรับปรุงบัญชีและขาบัญชี Auto บัญชีรายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ รหัสบัญชี 1103020113 เป็นบัญชีฝั่งกรมบัญชีกลาง กรณีหน่วยงานได้รับเงินรายได้แผ่นดินแล้ว แต่นำส่งไม่ทัน ภายในวันที่ 30 กันยายน XXXX คู่บัญชีที่เกิดขึ้นแล้วตอนรับเงิน คือ Dr. เงินสดในมือ Cr. รายได้ (41... , 42...) ดังนั้น จึงต้องปรับปรุงบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง ณ วันที่ 30 กันยายน XXXX เพื่อรับรู้รายการบัญชีตามหลักเกณฑ์คงค้าง กรมบัญชีกลาง กลับรายการ 1 ต.ค. XX Dr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง 8,000 Cr. รายได้จากรัฐบาลรอรับ จากส่วนราชการ
งบทดลอง ณ 30 ก.ย. XX ยกตัวอย่างงบทดลอง (จำลอง) เมื่อบันทึก -รับเงิน กรมบัญชีกลาง Dr.รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วน ราชการ 8,000 Cr.T/R-รายได้แผ่นดิน รอนำส่งคลัง 8,000 ยกตัวอย่างงบทดลอง (จำลอง) เมื่อบันทึก -รับเงิน -ปรับปรุงบัญชี -กรมบัญชีกลางผ่านรายการ
รายงานแสดงรายได้แผ่นดินรอนำส่ง(ZRP_R04) งบทดลอง 1 ต.ค.xx นำเงินส่งธนาคาร บันทึกนำส่ง อธิบายงบทดลอง ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณใหม่
รายได้เงินนอกงบประมาณ เงินนอกงบประมาณที่ฝากคลัง เงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง อธิบายประเภทของเงินนอก -เงินทุนหมุนเวียน -เงินรับฝาก 1.เงินนอกงบประมาณฝากคลัง ยกตัวอย่าง 2.เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์ ยกตัวอย่าง
การบันทึกรับเงิน ZRP_RB/นส 01 บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R2/สน 02-1 DR. เงินสดในมือ 5,000 CR. รายได้เงินนอกงบประมาณ /เงินรับฝากอื่น นำเงินส่งธนาคาร Auto ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอน เงินนอกงบประมาณให้ บก. พักเงินนำส่ง/พักรอ Clearing (เช็ค) บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R2/สน 02-1 พักเงินนำส่ง อธิบายขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1.รับเงิน 2.นำส่งเงิน 3.บันทึกนำส่งเงิน 4.การปรับปรุงบัญชีเงินฝากคลัง ปรับเงินฝากคลัง ZRP_RX Dr. เงินฝากคลัง 5,000 Cr. เงินรับฝากส่วนราชการ
เอกสารได้นำเงินส่งธนาคาร เน้นย้ำการโหลดใบ Pay in slip ด้วยรหัส หน่วยเบิกจ่าย ตรวจจำนวนเงิน ประเภทการนำส่งเงิน
เอกสารได้รับจากธนาคาร สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 5,000.00 5,000.00 ตม.จว.อุบลราชธานี คลังจังหวัดอุบลราชธานี 0.00 0.00 ตรวจสอบความถูกต้องก่อนออกจากธนาคารให้ตรงตามประเภทเงินที่นำส่ง 5,000.00 -ห้าพันบาทถ้วน- $$$$ 5,000.00
อธิบายคู่บัญชีที่เกิดเมื่อบันทึกหรือเกิดรายการทางบัญชี
อธิบายวิธีการดูรายงาน
ปัญหาที่ตรวจพบ 1.นำส่งเงินมากกว่า 1 ประเภทเงินต่อหนึ่งใบ pay in slip 2.นำส่งเงินโดย ติ๊กประเภทเงินผิดประเภท 3. บันทึกบัญชีไม่ครบทุกขั้นตอน 3.1 ไม่บันทึกรับเงินแต่บันทึกนำส่งเงิน = ทำให้บัญชีเงินสดฯ ติดลบ 3.2 มีการบันทึกรับเงินและนำเงินส่งธนาคาร แต่ไม่บันทึกนำส่งเงิน = ทำให้บัญชีเงินสดฯ ในระบบมีจำนวนเงิน ไม่ตรงกับรายงานเงินคงเหลือประจำวันของหน่วยงาน 3.3 ไม่บันทึกปรับเพิ่มเงินฝากคลัง = บัญชีเงินฝากคลังไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
ข้อผิดพลาด ผลกระทบ 1.ไม่บันทึกรับเงิน เงินสดติดลบ 2. บันทึกนำส่งเงินซ้ำ 3. ไม่บันทึกรับและนำส่งเงิน บัญชีพักเงินนำส่งคงค้าง 4.ไม่บันทึกนำส่งเงิน รายงานเงินคงเหลือในระบบไม่ตรงกับข้อเท็จจริง 5.บันทึกรับเงินซ้ำ 6.ไม่ปรับทึกปรับปรุงเงินฝากคลัง ข้อมูลเงินฝากคลังไม่ถูกต้อง