งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง

2 กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รัฐธรรมนูญ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ

3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 167 วรรคสาม “ให้มีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อกำหนดกรอบวินัยการเงินการคลัง ซึ่งรวมถึง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการวางแผนการเงินระยะปานกลาง การจัดหารายได้... และการอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องใช้เป็นกรอบในการจัดหารายได้ กำกับ การใช้จ่ายเงินตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และความเป็นธรรม ในสังคม”

4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ใน กฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ - กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือ - กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน รัฐบาลจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ

5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 (ต่อ) ในกรณีเช่นว่านี้ ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้เงินคงคลังในพระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย

6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 วรรคสอง ในระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือการรบ คณะรัฐมนตรีมีอำนาจโอนหรือนำรายจ่ายที่กำหนดไว้สำหรับหน่วยราชการหรือรัฐวิสาหกิจใดไปใช้ในรายการที่แตกต่างจากที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีได้ทันที และให้รายงานรัฐสภาทราบโดยไม่ชักช้า

7 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าว เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป การใช้จ่ายเงินรายได้ตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลัง ตามหมวดนี้ด้วย

8 กฎหมายว่าด้วย เงินคงคลัง

9 พรบ.เงินคงคลัง 2491 มาตรา 1 -3 การบังคับใช้ และคำนิยามศัพท์
มาตรา การบังคับใช้ และคำนิยามศัพท์ มาตรา การรับเงินเข้าคลัง และข้อยกเว้น มาตรา เงินคงคลังบัญชี 1 และ 2 มาตรา การจ่ายเงินคงคลังกรณีเงินงบประมาณ กรณีปกติและพิเศษ มาตรา การจ่ายเงินคงคลังก่อนที่มีกฎหมายอนุญาติให้จ่าย มาตรา การจ่ายเงินคงคลังกรณีเงินนอกงบประมาณ มาตรา บุคคลที่มีอำนาจสั่งจ่ายเงินคงคลัง มาตรา การจ่าย-รับเงินคงคลัง กรณีเงินทุน/ทุนหมุนเวียน มาตรา การรักษาการกฎหมาย

10 พรบ.เงินคงคลัง 2491 การนำเงินเข้าคลัง การจ่ายเงินจากคลัง
มาตรา 4 มาตรา 13 มาตรา 8 , 12 มาตรา 6 เงินรายได้แผ่นดิน/เงินกู้ เงินนอกงบประมาณ /เงินอันไม่พึงต้องชำระ มีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย ข้อยกเว้นไม่นำเงินส่งคลัง ชดใช้เงินคงคลัง มาตรา 6 ,7 การจ่ายเงินจากคลัง ก่อนมีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย มาตรา 7 บัญชีที่ 1 และ 2 ณ ธปท. , บัญชีที่สนง.คลังจังหวัด มาตรา 1 -3 มาตรา 5 มาตรา 9 -11 มาตรา 14

11 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเงินคงคลัง
. กรมสรรพากร . กรมสรรพสามิต . กรมศุลกากร . รัฐวิสาหกิจ . ส่วนราชการ . ส่วนราชการ . รัฐวิสาหกิจ . สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ . สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ กรมบัญชีกลาง สำนักงบประมาณ / ธนาคารแห่งประเทศไทย ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น

12 กฎหมายว่าด้วย งบประมาณ

13 บทนำ คำนิยาม ผู้รักษาการ
พรบ.วิธีการงบประมาณ 2502 มาตรา 1 - 5 บทนำ คำนิยาม ผู้รักษาการ 1. อำนาจหน้าที่ของสำนักงบประมาณ 2. ลักษณะงบประมาณ สมดุล/เกินดุล/ขาดดุล 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. การตั้งรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 5. งบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน 6. งบปะมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 10. การควบคุมงบประมาณ - หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย/เก็บรักษา/นำเงินส่งคลัง - วางระบบบัญชีให้ส่วนราชการปฏิบัติ - ประมวลบัญชีแผ่นดิน - เงินทดรองราชการ - เงินประจำงวดและการก่อหนี้ผูกพัน งบประมาณรายจ่าย - หลักเกณฑ์การนำเงินส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน และข้อยกเว้น - อำนาจในการกู้เงิน - งบประมาณรายจ่ายข้ามปี และการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - เงินทุนสำรองจ่ายฉุกเฉิน - รายงานการเงินแผ่นดิน - บทกำหนดโทษ จัดทำ บริหาร มาตรา ควบคุม สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กระทรวงการคลัง มาตรา มาตรา 7. การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการ 8. การโอน/เปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ 9. การใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบส่วนราชการ / งบกลาง

14 การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง.........
การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง เป็นไปตามกฎหมาย / ระเบียบ ฯ / มติครม. เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยประหยัด ได้ผลตามเป้าหมายและคุ้มค่าเงิน เป็นไปโดยรัดกุม / เหมาะสม/ สุจริต เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่รัฐและประชาชน

15 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google