เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ลักษณะทั่วไปของสังคมการผลิตพืช 1) ความเป็นชนบท 2) อาชีพ 3) ฐานะความเป็นอยู่ 4) ระบบการสื่อสาร 5) ระบบการคมนาคมและขนส่ง 6) การศึกษา 7) ประชากร 8) ความสัมพันธ์ทางสังคม
เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร พื้นที่ปลูกพืชชนิดต่างๆ ทั้งประเทศ ปี เนื้อที่ถือครอง ที่นา ที่พืชไร่ ที่ไม้ผลและ ที่สวนผัก ทาง การกษตร ไม้ยืนต้น และไม้ดอก ---------------------ล้านไร่---------------------- 2521 116.4 73.2 23.8 10.4 0.3 2525 123.6 73.2 29.2 11.9 0.3 2527 125.3 73.9 30.0 12.1 0.4 2531 147.8 74.2 35.7 19.5 0.8 2534 133.1 69.3 33.5 20.1 0.8 2535 132.0 68.8 32.7 20.8 0.9 2538 132.5 68.3 32.0 22.3 0.9
โครงสร้างทางเศรษฐกิจของสังคมการผลิตพืช เศรษฐกิจแบบทำเพื่อกินและใช้เองหรือเพื่อยังชีพ (subsistence economy) เศรษฐกิจแบบทำเพื่อซื้อขาย (market economy) เศรษฐกิจพอเพียง 1 การประกอบอาชีพ 2 วิธีการผลิต 3 ปัจจัยการผลิต 1) ทุน 2) ที่ดิน 3) แรงงาน 4) เทคโนโลยี 4 การใช้แรงงาน
โครงสร้างทางเศรษฐกิจของสังคมการผลิตพืช 5 การซื้อขาย (การตลาด) 6 ขนบธรรมเนียมประเพณี บุญคุณลาน ทำเดือนยี่ เมื่อเก็บเกี่ยวสู่ลาน บุญข้าวจี่ ทำเดือนสาม ทำแป้งจี่ถวายพระ บุญบั้งไฟ ทำเดือนหก เพื่อบูชาเทวดาขอฝน บุญซำฮะอ๋าเบิล ทำเดือนเจ็ด เพื่อให้ข้าวงอกงาม บุญข้าวสาก ทำเดือนสิบ เพื่อขอบคุณเทวดา 7 การลงแขก
การตลาดสินค้าพืช 2) เน่าเสียง่ายและใช้เนื้อที่มาก สินค้าพืชมีลักษณะเฉพาะดังนี้ 1) เป็นสินค้าประเภทวัตถุดิบ 2) เน่าเสียง่ายและใช้เนื้อที่มาก 3) แหล่งที่เหมาะสมกับการผลิตมีเฉพาะ 4) ผลิตได้เฉพาะฤดูกาล และต้องใช้เวลาในการผลิต นาน 5) ปริมาณการผลิตไม่แน่นอน
ระบบการตลาดสินค้าพืชของไทย 1)การขายโดยตรง 2) การค้าในระบบตลาดกลาง โรงงานแปรรูป1 หยง2 พ่อค้าส่งออก เกษตรกร พ่อค้าระดับไร่นา พ่อค้าท้องถิ่น พ่อค้าระดับภูมิภาค พ่อค้านายหน้า ระดับประเทศ ผู้บริโภคภายใน ประเทศ หยง2
ระบบการตลาดสินค้าพืชของไทย รูปที่ 13.1 การค้าโดยตรง 1 ได้แก่ โรงสี โรงงานต่างๆ 2 หยง ได้แก่ นายหน้าหรือตัวแทนการค้าทำหน้า ที่เป็นตัวแทนผู้ส่งออกจากพ่อค้าท้องถิ่น ได้รับค่า นายหน้าตอบแทนครึ่งเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าสินค้า
ผลิต พ่อค้าท้องถิ่น คลังสินค้า พ่อค้าในกรุงเทพฯ รูปที่ 13.2 โครงสร้างและระบบการตลาดกลาง ผลิต พ่อค้าท้องถิ่น คลังสินค้า พ่อค้าในกรุงเทพฯ เกษตรกร ตลาดกลาง ตลาดกลางระดับ ท้องถิ่น ภูมิภาค พ่อค้า ส่งออก ระดับไร่นา ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ พ่อค้าระดับไร่นา พ่อค้าระดับจังหวัด
ระบบการตลาดสินค้าพืชของไทย ระดับของตลาดกลางมีดังนี้ 2.1) ตลาดกลางระดับไร่นา 2.2) ตลาดกลางระดับท้องถิ่น 2.3) ตลาดกลางระดับภูมิภาค 2.4) ตลาดกลางระดับประเทศ 3) ตลาดข้อตกลง 4) ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า
ปัญหาและข้อจำกัดของการตลาดสินค้าพืชของไทย ในส่วนของเกษตรกร 1) ความเสี่ยงในเรื่องรายได้ 2) ขาดแคลนเงินทุนและที่ดินทำกิน 3) พฤติกรรมการขายแบบดั้งเดิมในลักษณะการคละ สินค้ากันไป ในส่วนของระบบตลาด 1) ระบบการตลาดส่วนใหญ่ติดยึดอยู่กับรูปแบบดั้งเดิม 2) ความไม่สะดวกทางด้านคมนาคม ขนส่ง 3) เกษตรกรไม่มีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารการตลาด
ปัญหาและข้อจำกัดของการตลาดสินค้าพืชของไทย การตัดสินใจเกี่ยวกับการตลาดสินค้าพืชของเกษตรกร 1) จะผลิตสินค้าพืชชนิดใด 2) จะซื้อขายสินค้าเมื่อใดและที่ไหน 3) จะทำกิจกรรมการตลาดอย่างไรทั้งในแง่บุคคลและกลุ่ม 4) จะขยายตลาดอย่างไร 5) จะใช้วิธีการขายแบบไหน 6) ทำอย่างไรสามารถเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม ของรัฐ a13ok.doc