การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน โดย ดร. จิราวรรณ แย้มประยูร ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 21 กันยายน 2555
สาระสำคัญของประชาคมอาเซียนและพันธะกรณี กฎบัตรอาเซียน : กรอบทางกฎหมายและทางสถาบันของอาเซียน The ASEAN Charter ประชาคมอาเซียน (AC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) Master Plan on ASEAN Connectivity การเชื่อมโยงทางกายภาพ การเชื่อมโยงด้าน กฏระเบียบ การเชื่อมโยงระหว่างกันของประชาชน
ระดับรัฐมนตรีเกษตรอาเซียน ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาหารและเกษตร กลไกระดับอาเซียน ระดับรัฐมนตรีเกษตรอาเซียน ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาหารและเกษตร คณะทำงานเฉพาะสาขา พืช ปศุสัตว์ ประมง มาตรฐาน อาหาร ฮาลาล ด้านป่าไม้ การค้าผลิตผล ป่าไม้ การค้าสินค้าเกษตร ส่งเสริมการเกษตร สหกรณ์การเกษตร วิจัยพัฒนาการเกษตร
กลไกระดับประเทศ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศเป็นประธาน) คณะกรรมการดำเนินการเพื่อจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะอนุกรรมการดำเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะกรรมการสำหรับ คณะมนตรีประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน การติดตามความคืบหน้าระดับประเทศ แผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการแห่งชาติ แผนงานระดับกระทรวง
AEC ASCC APSC การคุ้มครองสวัสดิการแรงงานและสังคม การเป็นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน A1 การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี A7 อาหาร เกษตรและป่าไม้ ASCC การคุ้มครองสวัสดิการแรงงานและสังคม การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม APSC มีกฏเกณฑ์บรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน
การดำเนินงานภายใต้กรอบแผนงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน
ภาพรวมของประเทศไทย ผลกระทบเชิงบวก ตลาดขนาดใหญ่ แหล่งวัตถุดิบราคาถูก/ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลง ฐานการผลิตในประเทศเพื่อนบ้านและในไทย ผลกระทบเชิงลบ การแข่งขันมากขึ้น สินค้าไม่ได้มาตรฐานเข้ามาจำหน่าย การใช้สิทธินักลงทุนอาเซียน แรงงานมีฝีมือขาดแคลน
ผลกระทบต่อภาคการเกษตร ผลกระทบเชิงบวก สินค้าเกษตรมาตรฐานและต้นทุนต่ำแข่งขันได้มากขึ้น ขยายตลาดกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการเฉพาะ ผลกระทบเชิงลบ สินค้าเกษตรไม่ได้มาตรฐานไม่สามารถแช่งขันในตลาด มาตรการ SPS เข้มงวดขึ้น
มาตรการเชิงรุกและเชิงรับ Productivity Quality & Safety Branding มาตรการเชิงรับ Border Measure Internal Measure Special Safeguard Measure
แนวทางการพัฒนาเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. การสร้างมาตรฐานและการตรวจสอบสินค้า 2. การผลิตทางการเกษตร 3. การวิจัยและพัฒนา 4. การจัดการศัตรูพืชและโรคระบาด 5. แรงงานเกษตร 6. การลงทุนภาคเกษตร 7. การจัดการดินและน้ำ
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สำคัญ ประมง กุ้ง ปลาทูน่า ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปศุสัตว์ ไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ ไข่ไก่ โคนมและผลิตภัณฑ์ โคเนื้อและผลิตภัณฑ์ สุกร ผลไม้ ทุเรียน ลำไย มังคุด มะม่วง สับปะรด ข้าว ไม้ยืนต้น ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว ยางพารา กาแฟ พืชไร่ มันสัมปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน ไหม
ภาพสรุปการวิเคราะห์ศักยภาพแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สำคัญ High Attractiveness Low 60% 80% 100% Competitiveness
การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ คณะทำงานส่งเสริมการสร้างฐานการผลิตในประเทศเพื่อบ้านและการค้าชายแดน คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
One Vision One Identity One Community เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์จาก AEC One Vision One Identity One Community