งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
ในการแข่งขัน ให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ และปลอดภัย อ.นสพ.สุวิทย์ โชตินันท์ ภาควิชาสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 สภาพของระบบการผลิตไก่พื้นเมืองในปัจจุบัน
ไก่พื้นเมืองมีศักยภาพในการผลิตในรูปแบบฟาร์มครบวงจร ความต้องการการบริโภคสูง ทั้งในท้องถิ่น ตลาดกลาง และตลาดระดับบน การผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ มีการขยายตัวสูง  งานวิจัย และการส่งเสริม การผลิต คอขวดของการผลิต คือ ทำอย่างไร ให้เป็นที่ยอมรับ

3 อุปสรรค ปัญหา การจำหน่ายผลผลิตเข้าสู่ตลาดกลาง (Modern trade) และตลาดบน
การส่งออกไปจำหน่ายในต่างประเทศ การเคลื่อนย้ายสัตว์ ความเสียหายจากโรคระบาดต่างๆ การปนเปื้อนเชื้อที่ก่อโรคระบบทางเดินอาหารที่ติดต่อสู่คน เช่น ซัลโมเนลลา

4

5 สิ่งที่ต้องการการพัฒนา
มาตรฐานการผลิตสัตว์ปีก สำหรับไก่พื้นเมือง ทั้งห่วงโซ่การผลิต เกษตรกรและผู้ผลิตที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปรับใช้ได้ การวิจัย “การพัฒนาระบบการผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่สู่อาหารปลอดภัย ต่อผู้บริโภค” การวิจัยแบบปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ประดู่ หางดำเชียงใหม่ ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

6 วิธีการพัฒนา มาตรฐานการผลิต ต้องมีมาตรฐานเดียว
ปรับใช้เกณฑ์จากข้อกำหนดมาตรฐาน ของกรมปศุสัตว์ มาตรฐานฟาร์มไก่พันธุ์ มาตรฐานโรงฟักไข่ มาตรฐานฟาร์มไก่เนื้อ มาตรฐานโรงเชือดสัตว์ปีก เขียงอนามัย

7 การพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย
การพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่ายทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความยั่งยืนของการพัฒนา (Sustainability) ต้นแบบระบบการผลิต เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงกว้าง “How to…”

8 ระบบการผลิตไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่
ฟาร์มผลิตพันธุ์ไก่ - ฟาร์มขนาดใหญ่ แม่พันธุ์ >1,000 แม่ - ฟาร์มขนาดเล็ก แม่พันธุ์ 300 แม่ ฟาร์มเลี้ยงไก่ขุน - ฟาร์มขนาดใหญ่ >25,000 ตัว/ปี - ฟาร์มขนาดเล็ก <5,000 ตัว/ปี เกษตรกรผลิตพันธุ์ไก่ (เลี้ยงแบบธรรมชาติ) - เกษตรกรรายย่อย แม่พันธุ์ไก่<10 แม่ - เกษตรกรรายกลาง แม่พันธุ์ไก่< 30 แม่ โรงฆ่า< 50 ตัว/วัน โรงฆ่า >50 ตัว/วัน ร้านขายไก่สด ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

9 กระบวนการพัฒนาระบบการผลิต
1. การผลิตในปัจจุบัน 2. วิเคราะห์จุดเสี่ยง สร้างแนวทางการพัฒนา 3. นำแนวทางการพัฒนาไปปฏิบัติ 4. ข้อเสนอเชิงนโยบาย แบบประเมินฟาร์ม การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจเชื้อซัลโมเนลลา การวิเคราะห์ช่องว่าง การวิเคราะห์จุดเสี่ยง ผลของซัลโมเนลลา การทวนผลวิเคราะห์ นำข้อแนะนำไปปฏิบัติ ติดตาม ประเมินผล สร้างต้นแบบระบบการผลิต การถ่ายทอดผลการศึกษาสู่ระดับนโยบาย พัฒนา Policy recommendation

10 กระบวนการ We used at least 4 methods to collected data, because each method has own weak point, so other method will strengthen each one.

11 ขบวนการเชือด กับการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา

12 Gap analysis - Neck cutting Requirement (DLD standard)
Actual practices Desired practices Recommendation 1. Slaughter with animal welfare - Hanging - Neck cutting - Change the slaughter method from hanging to neck cutting 2. Measures to prevent the carcass or meat contaminated with dirt -Carcass and meat were put on the floor -Carcass and meat, not touching the floor Using table Hanging the carcasses 3. Production area is divided separate of clean area and the unclean area -No areas were divided -Clean area and dirty area are divided - Construct the clean area and the dirty area separately 4. Vehicle, equipment table, saws and container in slaughterhouse must be cleaned and sterilized before and after work and during the operation -Those equipment are not cleaned daily -Those equipment must be cleaned daily Clean the equipment dairy 5. Provide area for the disposal of garbage and sewage and sanitary manner - No area for solid waste disposal - No method to dispose the liquid waste - Set area for waste and solid waste disposal ->>………..

13 ผลการพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย
เกษตรกรต้องการคำแนะนำ ที่นำไปปฏิบัติได้ทันที ข้อกำหนดของมาตรฐาน หลายประการ ต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับไก่ พื้นเมืองอย่างแท้จริง เกษตรกรรายย่อย  ปล่อยหากินตามธรรมชาติ โครงสร้างโรงฆ่า เหมาะสมกับโรงเชือดขนาดใหญ่

14 This is the SLH design from DLD that the owner has to has high investment

15

16 ผลการพัฒนาระบบการผลิตของเครือข่าย
ตลาดเนื้อไก่ระดับกลางและบน ต้องการเนื้อไก่ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เนื้อไก่ ต้องผลิตจากระบบการผลิตที่ได้มาตรฐานด้วย เกษตรกรที่สามารถปฏิบัติได้ คือกลุ่มผู้เลี้ยงเป็นอาชีพหลัก ได้แก่ กลุ่มผู้เลี้ยง ไก่พันธุ์ ไก่ขุน เกษตรกรรายย่อย ยังไม่สามารถพัฒนาตามข้อกำหนดได้ทั้งหมด ข้อกำหนด การเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่ดี อาจนำมาใช้ได้

17 ก่อนการพัฒนา- ฟาร์มผลิตไก่พันธุ์

18 ก่อนการพัฒนา- เกษตรกรรายย่อย

19 หลังการพัฒนา- เกษตรกรผลิตไก่พันธุ์

20 หลังการพัฒนา- เกษตรกรรายย่อย

21 ก่อนการพัฒนา- โรงเชือด

22 หลังการพัฒนา- โรงเชือด

23 ก่อนการพัฒนา- แผงจำหน่าย

24 หลังการพัฒนา- แผงจำหน่าย

25 การเปลี่ยนแปลงของเครือข่าย
การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม  มาตรฐานฟาร์ม & ความปลอดภัยทางอาหาร การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต  การพัฒนาระบบการผลิต แนวทางการพัฒนาที่เครือข่ายสามารถปฏิบัติได้

26 การถ่ายทอด การขยายผลงานวิจัย

27 โรคฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กอื่นๆ
It is not good for food-safety

28 แผงจำหน่ายอื่นๆ

29 ความท้าทาย (Challenge)
การพัฒนาระบบการผลิต ทั้งฟาร์ม โรงเชือด และแผงจำหน่าย เป็นการ เปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม ความพร้อมด้านเงินลงทุน ผลตอบแทนจากการลงทุน การรวมตัวกันของเครือข่าย การช่วยเหลือภายในกลุ่ม การยอมรับข้อมูล ทัศนคติเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และความปลอดภัยด้านอาหาร

30 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ (Economic incentives) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Economic impact) ความมั่นคงทางอาชีพ อาชีพหลัก/อาชีพเสริม ภาวะทางการเงิน

31 การพัฒนาระบบการผลิต มีความจำเป็น มากเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
หลักประกันอาชีพ ข้อกำหนด ต่างๆ เกษตรกรปฏิบัติได้และมีมาตรฐานเดียว หลายๆ หน่วยงาน โดยเฉพาะผู้กำหนดนโยบาย มีส่วนสำคัญมาก ในการนำ ผลงานไปใช้ประโยชน์

32 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google