งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปการนำเสนอโครงการ ปี 2553-2558 จาก 4 ภูมิภาค
สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค

2 จำนวนโครงการที่เสนอ 1 2 3 4 ภาคเหนือ 4 โครงการ
ภาคกลางและภาคตะวันออก 4 โครงการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 โครงการ 3 4 ภาคใต้ 4 โครงการ รวมทั้งสิ้น 18 โครงการ

3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โครงการจาก 4 ภูมิภาค ภาคเหนือ 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้าชายแดนสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2.โครงการสร้างเสริมและพัฒนาตลาด อัตลักษณ์ภูมิปัญญาผ้าทอไทย 3.โครงการพัฒนาสินค้าข้าวและผลิตภัณฑ์ภาคเหนือ 4. โครงการพัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้าผัก ผลไม้สด แปรรูปภาคเหนือ ภาคกลาง 1. โครงการสร้างความเข้มแข็งทุกภาคส่วนเพื่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 53-58 2. โครงการขยายตลาดสินค้าผลไม้ภาคกลางและภาคตะวันออก 3. โครงการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันแก่ผู้ประกอบการค้าสินค้าอาหาร อาหารแปรรูปกลุ่มจังหวัดภาคกลาง และภาคตะวันออก (ครัวไทย ครัวอาเซียน) 4. โครงการส่งเสริมศักยภาพการค้าชายแดน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. โครงการสร้างความพร้อมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2. โครงการอีสานสู่อาเซียน “ ISAN LINK ASEAN (AEC)” 3. โครงการเสริมสร้างศักยภาพการตลาดข้าวหอมมะลิไทย 4. โครงการ“พัฒนาผ้าอีสานสู่สากล” 5. โครงการพัฒนาตลาดและขยายช่องทางการค้าผลไม้ ภาคใต้ 1. โครงการส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทย 2. โครงการเชื่อมโยงตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการท่องเที่ยว 3.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเชื่อมโยงตลาดยางพาราอย่างครบวงจร 4. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการปาล์มน้ำมัน 5. โครงการพัฒนาตลาดการค้าชายแดน และรองรับการเข้าสู่ AEC

4 โครงการที่เกี่ยวกับ AEC
เหนือ กลาง อีสาน ใต้ โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้าชายแดนสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โครงการสร้างความเข้มแข็งทุกภาคส่วนเพื่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โครงการสร้างความพร้อมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โครงการพัฒนาตลาดการค้าชายแดน และรองรับการเข้าสู่ AEC (โครงการที่เกี่ยวกับค้าชายแดนและ AEC) การสำรวจเพื่อจัดทำฐานข้อมูลสำรวจตลาดและความต้องการสินค้าของประเทศเพื่อนบ้าน จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการค้าชายแดนภาคเหนือ การเชื่อมโยงตลาดการค้าชายแดน เช่น จัดงานเจรจาจับคู่ธุรกิจ งานแสดงสินค้า การพัฒนาบุคลากร การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร เจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับผลกระทบและการเตรียมพร้อมสู่ AFTA และ AEC จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา สำรวจ พร้อมทั้งจัดทำฐานข้อมูลสินค้ารายจังหวัด ปี อย่างน้อย 1 สินค้า และในปี อย่างน้อย 3 สินค้า จัดอบรม/สัมมนา กลุ่มเป้าหมาย (25 จังหวัด) จังหวัดละอย่างน้อย 1 ครั้ง จัดทำเอกสาร/และสื่อต่าง ๆ เพื่อการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ จัดจ้างที่ปรึกษาในการจัดทำแผนกลยุทธ์สินค้าอย่างน้อย 3 สินค้า /3 แผนกลยุทธ์ ในปี 54-58 จัดตั้งคณะที่ปรึกษาระดับภาค และคณะทำงานในระดับจังหวัดเพื่อเป็นกลไกในการให้คำปรึกษา แก้ไขปัญหา/ผลกระทบและประชาสัมพันธ์เผยแพร่เรื่อง AEC แก่ทุกภาคส่วน พัฒนาความรู้ด้าน AEC ให้บุคลากร พณ.ในส่วนภูมิภาค ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนทั่วไป พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เตรียมการรองรับและศึกษาผลกระทบจาก AEC เช่นจัดตั้งศูนย์รวบรวมข้อมูลสารสนเทศในสำนักงานพาณิชย์จังหวัดทุกจังหวัด จัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าผักและผลไม้สด ศึกษา รวบรวมข้อมูลสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการค้าชายแดนให้มีความสามารถในการแข่งขันทางการค้าทั้งTrader และ Inter – Trader อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า

5 ข้าว โครงการเสริมสร้างศักยภาพการตลาดข้าวหอมมะลิไทยภาคอีสาน
โครงการพัฒนาสินค้าข้าวและผลิตภัณฑ์ภาคเหนือ - เผยแพร่และให้บริการข้อมูลสารสนเทศการผลิตและการตลาดข้าว ตลอดจนผลิตภัณฑ์ โดยจัดทำฐานข้อมูล และตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศการผลิตและการตลาดข้าว ณ จังหวัดนครสวรรค์ - สร้างภาพลักษณ์สินค้าข้าวและการต่อยอดงานวิจัยข้าว โดยประช่าสัมพันธ์จัดงานมหกรรม สัมมนาเชิงวิชาการ เป็นต้น - ขยายช่องทางการค้า เช่น จับคู่ธุรกิจ ร่วมงานแสดงสินค้า - บริหารจัดการและเชื่อมโยงผลิตและการตลาดให้สอดคล้องกัน โครงการเสริมสร้างศักยภาพการตลาดข้าวหอมมะลิไทยภาคอีสาน - จัดอบรมเพื่อให้รู้วิธีการผลิตข้าวหอมมะลิที่ได้มาตรฐาน - ประชาสัมพันธ์ตราญญลักษณ์ที่แสดงรับรองข้าวหอมมะลิ - รณรงค์ให้ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรมใช้ข้าวหอมมะลิ โดยมอบเครื่องหมายรับรอง - จัดงานกระตุ้นการบริโภคข้าวหอมมะลิในภูมิภาค - จัด Road Show สร้างเครือข่ายกระจายสู่ภูมิภาค - จัดงานสร้างภาพลักษณ์ข้าวหอมมะลิไทยในจังหวัดแหล่งผลิตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงตลาดข้าวหอมมะลิอินทรีย์ภายในประเทศ - อบรมผู้ประกอบการในการสร้างตราเครื่องหมายการค้า การขอ จดทะเบียนและการขอใช้ตราเตรื่องหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

6 ผลไม้ เหนือ กลาง อีสาน ใต้
โครงการพัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้าผัก ผลไม้สดและแปรรูป ภาคเหนือ โครงการขยายตลาดสินค้าผลไม้ภาคกลางและภาคตะวันออก โครงการพัฒนาตลาดและขยายช่องทางการค้าผลไม้ โครงการพัฒนาตลาดการค้าชายแดน และรองรับการเข้าสู่ AEC การเจรจาการค้า ตกลงซื้อขาย และแลกเปลี่ยนสินค้าล่วงหน้า ส่งเสริมการตลาด/การบริโภค เช่น จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ จัดกิจกรรมส่งเสริมการบริโภคผลไม้ในจังหวัดปลายทาง จัดตั้งหน่วยงานกระจายสินค้าในจังหวัดปลายทาง สนับสนุนบรรจุภัณฑ์สินค้าเพื่อขนส่งหลายทาง โดยการจัดซื้อบรรจุภัณฑ์ที่เป็นตระกร้า/ กล่องกระดาษบรรจุสินค้าเกษตร จัดการเสวนาแนวทางการแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตรระดับภาค เจรจาทำข้อตกลงซื้อขาย / แลกเปลี่ยนสินค้าล่วงหน้า (MOU) จัดกิจกรรมส่งเสริมการบริโภคผลไม้จังหวัดปลายทางทั่วประเทศ 30 จังหวัด จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์การบริโภคผลไม้ร่วมกับห้างสรรพสินค้า จัดทำสื่อและประชาสัมพันธ์ตลาดค้าส่งผลไม้ปลายทาง จำนวน 10 แห่ง ขยายตลาดผลไม้ไทยในประเทศเพื่อนบ้าน (กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม) โดยจัดทำสื่อ ปชส. และจัดเทศกาลบริโภคผลไม้ไทย ศึกษารวบรวมข้อมูลสินค้าผลไม้ที่ตลาดประเทศปลายทางต้องการ ประสานสำนักงานพาณิชย์จังหวัด คัดเลือกตัวแทนจาก 4 ภาค เพื่อเป็นหน่วยประสานจังหวัดแหล่งผลิตผลไม้ต้นทางในการรวบรวมผลไม้ ประสานหน่วยงานด้านมาตรฐานผลผลิตเพื่อการส่งออก และขั้นตอนการผ่านแดนตามพิธีการศุลกากรรวมทั้งต้นทุนด้านระบบโลจิสติกส์ ตลอดเส้นทางหมายเลข 8 และ 12 ประสานข้อมูลสินค้าผลไม้และวางแผนบริหารจัดการตลาดผลไม้เชื่อมโยงกับช่องทางการค้าชายแดนระหว่างจังหวัดนครพนมและจังหวัดที่เป็นศูนย์ประจำภาค (โครงการที่เกี่ยวกับค้าชายแดนและ AEC) จัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าผักและผลไม้สด ศึกษา รวบรวมข้อมูลสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการค้าชายแดนให้มีความสามารถในการแข่งขันทางการค้าทั้งTrader และ Inter – Trader อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า

7 ผ้าทอ โครงการ โครงการสร้างเสริมและพัฒนาตลาด “พัฒนาผ้าอีสานสู่สากล”
อัตลักษณ์ภูมิปัญญาผ้าทอไทย เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผ้าทอมือและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง โดยการจัดงานแสดงและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ณ จังหวัดลำพูน เชียงใหม่ หรือ ณ กรุงเทพมหานคร โดยมีกิจกรรมสำคัญ คือ - การแสดงและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง และจัดแสดงแฟชั่นโชว์ - จัดเสวนาในหัวข้อเรื่อง “เส้นจากจากอดีตสู่ปัจจุบัน และอนาคตผ้าทอมือและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องของภาคเหนือ” โดยวิทยากรมืออาชีพ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เชี่ยวชาญ/นักวิชาการ - การจัด Business Matching ทั้ง Incoming & Outgoing รวมถึงผู้ประกอบการไทย เช่น ผู้ประกอบการสปา ที่พัก ฯลฯ ที่ต้องการผลิตภัณฑ์ ผ้าทอไปตกแต่งสถานที่ในการประกอบธุรกิจ โครงการ “พัฒนาผ้าอีสานสู่สากล” ส่งเสริมและพัฒนายกระดับคุณภาพ มาตรฐานการผลิตสำหรับผู้ประกอบการทอผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า ดีไซน์เนอร์ และผู้ผลิตเคหะสิ่งทอของภาคอีสาน ด้วยการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาการผลิต ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่า และการทำตลาด การสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อพัฒนาผ้าให้เป็นผลิตภัณฑ์ ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมขยายช่องทางการตลาด โดยการจัดมหกรรมและจำหน่ายสินค้า (ในประเทศ 2 ครั้ง และต่างประเทศ 1 ครั้ง) จับคู่ธุรกิจ จัด Road show และงานแฟชั่นโชว์

8 โครงการค้าชายแดน เหนือ กลาง อีสาน ใต้
โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้าชายแดนสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โครงการส่งเสริมศักยภาพการค้าชายแดน โครงการอีสานสู่อาเซียน “ ISAN LINK ASEAN (AEC)” โครงการพัฒนาตลาดการค้าชายแดน และรองรับการเข้าสู่ AEC (โครงการที่เกี่ยวกับค้าชายแดนและ AEC) การสำรวจเพื่อจัดทำฐานข้อมูลสำรวจตลาดและความต้องการสินค้าของประเทศเพื่อนบ้าน จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการค้าชายแดนภาคเหนือ การเชื่อมโยงตลาดการค้าชายแดน เช่น จัดงานเจรจาจับคู่ธุรกิจ งานแสดงสินค้า การพัฒนาบุคลากร การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร เจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับผลกระทบและการเตรียมพร้อมสู่ AFTA และ AEC การเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการ/เครือข่ายด้านการค้าชายแดน การลงทุน และโลจิสติกส์ การส่งเสริมความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจการค้าไทย – กัมพูชา และ ไทย -พม่า มี กิจกรรมย่อย คือ - จัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ ติดตามความก้าวหน้าการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว - การจัดงานเจรจาจับคู่ธุรกิจ และงานแสดงสินค้า การพัฒนาบุคลากรให้พร้อมรับการทำงานชายแดน พัฒนาระบบข้อมูลการค้าชายแดนในจังหวัดที่มีด่านและจุดผ่อนปรน จัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้าแบบเหย้า-เยือน (จัดที่ภาคอีสาน 10 ครั้งและประเทศเพ่อนบ้าน 7 ครั้ง) เน้นสาขา logistics จักรกลการเกษตร อัญมณีเครื่องประดับ IT เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สินค้าอุปโภคบริโภค จับคู่ธุรกิจ จัดทำข้อตกลง Contract Farming พัฒนาเครือข่าย Logistics โดยการจัดสัญจรตามเส้นทางสำคัญ พัฒนา Trade /Inter trader สร้างความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือเพื่อลดอุปสรรคทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน จัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าผักและผลไม้สด ศึกษา รวบรวมข้อมูลสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการค้าชายแดนให้มีความสามารถในการแข่งขันทางการค้าทั้งTrader และ Inter – Trader อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า

9 โครงการที่เกี่ยวข้องกับสินค้า และบริการอื่นๆ
กลาง ใต้ โครงการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันแก่ผู้ประกอบการค้าสินค้าอาหาร อาหารแปรรูป (ครัวไทย ครัวอาเซียน) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเชื่อมโยงตลาดยางพาราอย่างครบวงจร โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการปาล์มน้ำมัน โครงการเชื่อมโยงตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการท่องเที่ยว สำรวจข้อมูลกลุ่มผู้ผลิตและคัดเลือกกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ และการจัดการด้านการตลาด การกระตุ้นการบริโภคภายใน และพัฒนาช่องทางและขยายตลาดสินค้า โดยจัดงานแสดงสินค้า (Food Expo) 3 ครั้ง (ปี 53 1 ครั้ง และปี ครั้ง) และจัดงานเทศกาลอาหารอาเซียน 1 ครั้งใน กทม. ประชาสัมพันธ์ จัดทำเอกสาร/แผ่นวีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์สินค้าประเภทอาหาร อาหารแปรรูปกลุ่มจังหวัดภาคกลางและภาคตะวันออก ศึกษา วิจัย ตลาดผลิตภัณฑ์ยางพารา เพื่อสนองต่อความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ อบรมและให้ความรู้เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการด้านการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ยางพารา เชื่องโยงตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าสินค้ายางพารากับตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย (AFET) ศึกษา วิจัย ตลาดผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมัน เพื่อสนองความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ อบรม เผยแพร่ความรู้กับการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันให้แก่เกษตรกรและผู้ประกอบการ จัดทำตลาดข้อตกลง (Contract Farming) ระหว่างเกษตรกรกับผู้ประกอบการ จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์ พร้อมอบรมให้ความรู้ด้านการผลิตและการเชื่อมโยงตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ พัฒนาผู้ประกอบธุรกิจ ด้านการท่องเที่ยว (โรงแรม , ร้านอาหารและสถานบริการสปา) ให้เห็นคุณค่าและใช้วัตถุดิบในการผลิตสินค้าและบริการจากสินค้าเกษตรอินทรีย์ จัด Road Show สินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับสำนักงาน ททท. และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของภาคใต้

10 Thank You สำนักงานยุทธศาสตร์การพาณิชย์


ดาวน์โหลด ppt สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google