ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสหกรณ์
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
บทบาทของประธานกลุ่ม ประธานกลุ่มของสหกรณ์ นับเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสหกรณ์ เพราะเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับสมาชิกในกลุ่ม เป็นผู้รู้ปัญหาและความต้องการของสมาชิกได้เป็นอย่างดี

การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
โครงการ “เหรียญห้า เหรียญสิบ รอมริบเอาไว้”
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
เกษตรทฤษฎีใหม่.
Knowledge- Base Systems
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
"การบริหารจัดการ ธุรกิจสินเชื่อสหกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
GO!!.
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการสหกรณ์ ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สหกรณ์กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปรียบเทียบ สหกรณ์กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย ความสำคัญ วิธีการบรรลุเป้าหมาย องค์ประกอบ กระบวนการระบบ

เป้าหมายสหกรณ์กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง = ดำเนินชีวิต - เศรษฐกิจดี - สังคมดี ดำเนินชีวิต - ได้ทุกสถานการณ์ (เศรษฐกิจ , สังคม)

สหกรณ์ให้ความสำคัญกับคน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ความสำคัญกับคน = ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ความสำคัญกับคน

วิธีการบรรลุเป้าหมาย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยตนเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การมีภูมิคุ้มกันในตัว

องค์ประกอบ องค์ประกอบสหกรณ์ 1. บุคคลช่วยตนเอง 2. รวมบุคคลเป็นคณะบุคคล 3. คณะบุคคลช่วยเหลือกัน 4. ช่วยเหลือกันเพื่อเศรษฐกิจสงคมเดียวกัน 5. จัดตั้งองค์การระดับชุมชน ระดับประเทศ 6. เพื่อบรรลุผลความเป็นอยู่ดี สันติสุข 7. พัฒนาอย่างมั่นคง ยั่งยืน

องค์ประกอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ด้านปัจเจกชน ยืนบนขาของตนเองได้ 2. ด้านชุมชน เข้มแข็งตามลักษณะประชากร ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม 3. ระดับประเทศ เศรษฐกิจดี ความเป็นอยู่ดี สมดุลด้านการออมและการลงทุน 4. พัฒนาอย่างมั่นคง ยั่งยืน

องค์ประกอบการจัดการสหกรณ์ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความเป็นรายบุคคล ความเป็นชุมชนเป็นองค์กร และความเป็นประเทศชาติ

สร้างตนบนความพอเพียง กระบวนการระบบ กระบวนการระบบสหกรณ์ ความเป็นอยู่ดี พัฒนาความร่วมมือกัน พัฒนาตน พึ่งตนเอง ช่วยเหลือกัน รายคน คณะบุคคล กระบวนการระบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างตนบนความพอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศมีเสถียรภาพ ยืนบนลำแข้งได้ รายคน ชุมชน ประเทศ

การจัดการสหกรณ์ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การรวมคน การรวมทุน การจัดโครงสร้าง

การรวมคน คัดคน - ขยัน - ประหยัด - ซื่อสัตย์ - เสียสละ

ลักษณะคนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช่ ไมใช่ คนขยัน คนประหยัด รายรับมากกว่ารายจ่าย มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีคุณค่าความเป็นคน ซื่อสัตย์ เสียสละ ปฏิบัติตามระเบียบ พึ่งตนเองได้ พอเพียง พอดี พอประมาณ คุ้มกันตัวเองได้ มั่นคง เพื่อส่วนรวม ชีวิตคือการเดินไปสู่เป้าหมาย คนเกียจคร้าน คนฟุ่มเฟือย สุรุ่ยสุร่าย รายจ่ายมากกว่ารายได้ ไม่มีศักดิ์ศรี หาคุณค่าได้ไม่ คดโกง เห็นแก่ตัว ฝ่าฝืนระเบียบ พึ่งพาผู้อื่น ขาด – เกิน เอาตัวไม่รอด อ่อนแอ เพื่อส่วนตัว ชีวิตไม่มีเป้าหมาย

เท่ากับเงินทุนภายนอก การรวมทุน เงินทุนภายในมากกว่า หรือ เท่ากับเงินทุนภายนอก

ค่าหุ้น การจัดสรรกำไรสุทธิ เงินฝาก ภูมิคุ้มกัน ความมั่นคง นิสัย แบ่งรายได้ 4 ส่วน การบริหารเงิน ฝาก - เงินสำรอง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการโครงสร้างสหกรณ์ คน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงสร้างสหกรณ์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนผู้ยืนได้ด้วยลำแข้งตัวเอง สมาชิกสหกรณ์ ประชุมใหญ่ = กำหนดนโยบายจัดการสหกรณ์ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการดำเนินการ กำหนดบริหารด้วยความพอประมาณความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันตัวเอง ผู้ตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบให้สหกรณ์ดำเนินงานตามนโยบายของที่ประชุมใหญ่ บุคคลผู้ยึดปรัชญาเป็นที่ปรึกษา ธุรกิจ กิจการ ผู้จัดการ = จัดการตามนโยบายคณะกรรมการดำเนินการ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

จัดการธุรกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการธุรกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ธุรกิจสหกรณ์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ (สมดุล พึ่งตนเองได้) มีเหตุผล (ปัจจัยปัจจุบันเกี่ยวเนื่องอนาคต) มีภูมิคุ้มกัน (มั่นคงยั่งยืน) สินเชื่อ - สมาชิกมีแผนการใช้เงิน เพื่อการประกอบอาชีพ หรือเพื่อความเป็นอยู่ ตามความจำเป็นที่ แท้จริง - สมาชิกมีเงินสะสมของ ตนเองส่วนหนึ่ง - สหกรณ์อนุมัติและ จ่ายเงินให้ตามแผนการ ผลิต - สมาชิกมีรายได้เพียงพอ ต่อการชำระคืน - ทำให้สมาชิกประกอบ อาชีพได้ - ผลผลิตเป็นที่ต้องการ ของตลาด - สมาชิกมีงานทำ มี รายได้ - สหกรณ์รวบรวม ผลผลิต - มีกองทุนชำระหนี้ รวมซื้อ - มีสินค้าที่สมาชิก ต้องการ จำเป็นต้องใช้ - กำหนดราคาเหมาะสม - บริการสะดวก ทันเวลา - เพื่อความเป็นอยู่ - เพื่อการประกอบอาชีพ - ยึดประโยชน์ มากกว่า ตราสัญลักษณ์ - สุขภาพดี - ประหยัด - ไม่ทำลายธรรมชาติ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ปัจจัยปัจจุบันเกี่ยวเนื่องอนาคต) ธุรกิจสหกรณ์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ (สมดุล พึ่งตนเองได้) มีเหตุผล (ปัจจัยปัจจุบันเกี่ยวเนื่องอนาคต) มีภูมิคุ้มกัน (มั่นคงยั่งยืน) รวมขาย - มีตลาดจำหน่ายผลผลิต - กำหนดราคาเหมาะสม - บริการสะดวก ทันเวลา - ยึดคุณภาพ - บริหารเสมอภาค - วางแผนอาชีพอนาคตได้ - ตลาดนำการผลิต - สร้างงาน สร้างอาชีพ - ไม่ทำลายธรรมชาติ - ปลอดภัย บริการ - สนองความจำเป็นใน การดำเนินชีวิต การ ประกอบอาชีพ - เพื่อความเป็นอยู่ - เพื่อการประกอบอาชีพ - ส่งเสริมคุณภาพชีวิต - หลักประกันอาชีพ ทุกธุรกิจ - ไม่แสวงหากำไร - บริการสมาชิก - สร้างความเป็นอยู่ที่ดี - ชุมชนมีสันติสุข - สังคมดี - เศรษฐกิจดี