HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
25/07/2006.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คุณภาพคืออะไร - แปลศัพท์ : ภาวะที่เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้ใช้ - ผู้ประกอบวิชาชีพ : การปฏิบัติตามมาตรฐาน วิชาชีพ - ผู้ใช้ประโยชน์หรือลูกค้า : ตอบสนองความ.
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน 3. เข้าใจภาพรวมของมาตรฐาน การจัดหมวดหมู่ การเชื่อมโยง ประเด็นสำคัญของมาตรฐาน แและแนวทางการใช้มาตรฐาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:01

Hospital Accreditation คืออะไร (โดยพยัญชนะ) Q09: CQI Steps Hospital Accreditation คืออะไร (โดยพยัญชนะ) Credit หมายถึงความน่าไว้ใจ เกียรติยศ Accredit หมายถึงการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ Hospital Accreditation หมายถึง การประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:02 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Hospital Accreditation คืออะไร (โดยพยัญชนะ) Q09: CQI Steps Hospital Accreditation คืออะไร (โดยพยัญชนะ) โครงการ : พัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล รับรอง : กระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:03 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Hospital Accreditation คืออะไร (โดยอรรถะ) Q09: CQI Steps Hospital Accreditation คืออะไร (โดยอรรถะ) Hospital Accreditation คือกลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การรับรองเป็นเพียงส่วนเล็กๆ ส่วนเดียวในขั้นตอนส่วนสุดท้ายของ กระบวนการ โดยความหมาย hospital accreditation คือกลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบเกิดจากการมีเป้าหมายร่วมกัน การพัฒนาคน การวิเคราะห์งานทั้งหมด การนำกิจกรรมคุณภาพที่เหมาะสมเข้ามาปฏิบัติ การพัฒนาทั้งองค์กรมีความจำเป็นเนื่องจากงานแต่ละส่วนล้วนพึ่งพิงการทำงานซึ่งกันและกัน การแยกส่วนพัฒนาจึงไม่สามารถบรรลุจุดสูงสุดที่เราต้องการ การเรียนรู้ขององค์กรเกิดจากการประเมินตนเอง การลงมือทำด้วยตนเอง การเรียนรู้แลกเปลี่ยนกับที่ปรึกษา/โรงพยาบาลอื่น และการได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ประเมิน การรับรองเป็นเพียงส่วนเล็กๆ เดียวในขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการทั้งหมด ซึ่งควรมองว่าเป็นผลพลอยได้ของการทำงานหนัก มากกว่าที่จะเป็นเป้าหมายของการพัฒนา เป้าหมายของการพัฒนาที่แท้จริงน่าจะอยู่ที่คุณภาพบริการซึ่งผู้ป่วยจะได้รับ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:04 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

แนวคิดของ HA คุณค่าของความเป็นไทย พัฒนาคน กระบวนการเรียนรู้ Q09: CQI Steps แนวคิดของ HA คุณค่าของความเป็นไทย พัฒนาคน กระบวนการเรียนรู้ จิตวิญญาณของคุณภาพ มาตรฐาน การประเมินตนเอง การประเมินจากภายนอก การรับรอง โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:05 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ทำไมต้องมี HA อุดมการณ์ของชาติตามรัฐธรรมนูญ Q09: CQI Steps ทำไมต้องมี HA อุดมการณ์ของชาติตามรัฐธรรมนูญ ทิศทางการพัฒนาประเทศ สังคมคุณภาพ ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สมานฉันท์ ความต้องการของสังคม สถานการณ์ของระบบบริการสุขภาพ โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:06 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ใครจะได้อะไรจากการรับรองคุณภาพ Q09: CQI Steps ใครจะได้อะไรจากการรับรองคุณภาพ ประชาชน สังคม ผู้บริหาร ผู้ป่วย/ญาติ ผู้จ่ายเงิน ผู้ปฎิบัติงาน สิ่งที่ผู้ป่วยและญาติจะได้รับคือได้รับบริการที่มีคุณภาพ ไม่เสี่ยงต่อการดูแลรักษาที่ไม่ได้มาตรฐาน. สิ่งที่สังคมจะได้รับคือมีความเชื่อมั่นในระบบบริการสุขภาพว่าสามารถให้ความไว้วางใจได้. สิ่งที่ผู้บริหารจะได้รับคือมีความสบายใจในการบริหาร มีเวลาที่จะคิดพัฒนาในภาพกว้างโดยไม่ต้องเสียเวลาคอยแก้ปัญหาในแต่ละวัน. สิ่งที่องค์กรผู้จ่ายเงินจะได้รับคือการมีข้อมูลในการคัดเลือกโรงพยาบาล หรือพิจารณาระดับการจ่ายเงินที่เหมาะสม. สิ่งที่องค์กรวิชาชีพจะได้รับคือ มาตรฐานหรือข้อกำหนดต่างๆ จะได้รับการนำไปปฏิบัติ. องค์กรวิชาชีพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:07 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

เป้าหมายของ HA กระตุ้นโรงพยาบาล สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม Q09: CQI Steps เป้าหมายของ HA กระตุ้นโรงพยาบาล สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บริโภค สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:08 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Q09: CQI Steps วิวัฒนาการของ HA เริ่มจากการตรวจรับรองโรงพยาบาลเพื่อเป็น สถานที่ฝึกอบรมศัลยแพทย์ เปลี่ยนจากการเน้นที่แพทย์ มาสู่จุดเน้นของการทำงานร่วมกันระหว่างวิชาชีพต่างๆ เปลี่ยนจากการเน้นที่โครงสร้างและเอกสาร มาสู่ กระบวนการและผลลัพธ์ เปลี่ยนจากการเน้นที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน มาสู่การเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เปลี่ยนจากกระบวนการตรวจสอบ มาเป็นกระบวนการเรียนรู้ จุดเริ่มต้นของการรับรองโรงพยาบาล เริ่มในอเมริกาเมื่อประมาณ 70 ปีที่แล้ว โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะรับรองโรงพยาบาลสำหรับเป็นที่ฝึกอบรมศัลยแพทย์ ในช่วง 70 ปีที่ผ่านมา ได้มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการมาเป็นลำดับ ได้แก่ 1. เปลี่ยนจากการเน้นที่ตัวแพทย์มาสู่จุดเน้นของการทำงานร่วมกันระหว่างวิชาชีพต่างๆ มาตรฐานชุดแรก 4 ใน 5 ข้อเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับแพทย์โดยตรง แต่ในปัจจุบัน ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องการทำงานเป็นทีมและการเป็นลูกค้าภายในระหว่างกัน 2. เปลี่ยนจากจุดเน้นเรื่องโครงสร้างและเอกสาร มาสู่การเน้นกระบวนการและผลลัพธ์ การเปลี่ยนจุดเน้นนี้ไม่ได้หมายความว่าเรื่องโครงสร้างและเอกสารไม่สำคัญ แต่เกิดจากความตระหนักว่าโครงสร้างและเอกสารมีความสำคัญน้อยกว่าการพัฒนากระบวนการทำงาน เมื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบเอกสารจนสมบูรณ์แล้วก็ยังไม่ได้คุณภาพตามต้องการ สำหรับประเทศไทยซึ่งโครงสร้างและระบบเอกสารยังมีข้อด้อยอยู่มาก ก็จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาควบคู่กันไป 3. เปลี่ยนจากการเน้นที่ตัวผู้ปฏิบัติงานมาสู่การเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เดิมนั้นยึดเอามาตรฐานของวิชาชีพหรือความสะดวกสบายของผู้ทำงานเป็นหลัก แต่แนวโน้มใหม่คือการศึกษาความต้องการ (need) ของผู้ป่วย นำเอามาตรฐานวิชาชีพมาตอบสนองความต้องการเหล่านั้น 4. เปลี่ยนจากกระบวนการตรวจสอบมาเป็นกระบวนการเรียนรู้ การตรวจสอบสร้างความรู้สึกน่ากลัว พยายามปิดบังจุดอ่อน ในขณะที่กระบวนการเรียนรู้คือการวิเคราะห์จุดอ่อนและปรับปรุงจุดอ่อนเหล่านั้นแล้วนำผลมาเรียนรู้ร่วมกัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:09 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:10 Q09: CQI Steps โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:10 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ภาพใหญ่ของระบบคุณภาพ Q09: CQI Steps ภาพใหญ่ของระบบคุณภาพ -ผู้จ่ายเงิน -ประชาชน -Professional Accountability แรงจูงใจ เมื่อมองภาพที่ใหญ่ขึ้นจะเห็นว่าในเรื่องคุณภาพนี้มีผู้เล่นอยู่ 3 ส่วน ได้แก่ 1. โรงพยาบาลมีหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ 2. องค์กรภายนอกเป็นผู้ให้การรับรอง 3. ผู้จ่ายเงินหรือประชาชนเป็นผู้ใช้ผลการรับรอง ซึ่งจะเป็นการสร้างแรงจูงใจให้โรงพยาบาลเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แรงจูงใจในการพัฒนาอาจจะไม่ได้มาจากภายนอกทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเริ่มต้นของการพัฒนานั้น แรงจูงใจที่สำคัญคือความสำนึกในหน้าที่รับผิดชอบของผู้ประกอบวิชาชีพ รพ.พัฒนา คุณภาพ ได้การรับรอง คุณภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:11 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ประเด็นหลักในการรับรอง Q09: CQI Steps ประเด็นหลักในการรับรอง มีความมุ่งมั่นที่จะให้บริการอย่างมีคุณภาพ มีทรัพยากรที่เพียงพอ และการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ มีระบบป้องกันความเสี่ยง การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และธำรงไว้ซึ่งคุณภาพที่พัฒนาได้ มีการกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ มีการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและดูแลจริยธรรมองค์กร มีกระบวนการทำงานและการดูแลผู้ป่วยซึ่งเน้นการทำมาตรฐานวิชาชีพและความรู้ที่ทันสมัย มาตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:12 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล HA:13