งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
(องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557

2 แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ HA
Safety & Quality of Patient Care Educational Process Self Improvement External Evaluation Recognition Self Assessment Not an inspection Hospital Accreditation (HA) คือ กระบวนการเรียนรู้ มิใช่การตรวจสอบ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญที่สุดและใช้เป็นหลักมาตั้งแต่เริ่มต้น คือ HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ เป้าหมายของกระบวนการ HA สำหรับโรงพยาบาล ควรอยู่ที่คุณภาพและความปลอดภัยที่ผู้ป่วยจะได้รับ มิใช่อยู่ที่การรับรอง การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ เป็นการยกย่องเพื่อให้เกิดกำลังใจในการที่จะทำให้เกิดคุณภาพและความปลอดภัยให้ดียิ่งขึ้น การจะเกิดคุณภาพและความปลอดภัยได้ ขึ้นอยู่กับการประเมินและพัฒนาตนเองของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เครื่องมือคุณภาพต่างๆ ในกระบวนการ HA เป็นเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาขององค์กร

3 เข้าใจ HA รอบด้าน : 4 มิติ
2) มิติของพื้นที่การพัฒนา : กลุ่มของระบบย่อยในองค์กร 3) มิติของกระบวนการพัฒนา : 3C-PDSA / 3P 4) มิติของการประเมินผล

4 แนวคิดสำคัญของกระบวนการ HA
1. ส่งเสริมและให้การยกย่องการพัฒนาเป็นลำดับขั้น ด้วยแนวคิดนี้อาจหมายความรวมถึง บันไดสามขั้นสู่ HA ส่งเสริมการพัฒนาในส่วนที่จำเป็นตามกำลังความสามารถของโรงพยาบาล และให้การยกย่องตามลำดับขั้น (stepwise recognition) ระบบการให้คะแนนประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน (scoring) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ตาม maturity ของการพัฒนา การต่อยอดไปสู่ความยั่งยืนด้วยการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ และด้านความรู้ (การจัดการความรู้และการวิจัย) 2. ความครอบคลุมพื้นที่ภายในองค์กร ซึ่งจัดกลุ่มได้เป็น หน่วยงาน/หน่วยบริการ, กลุ่มผู้ป่วย, ระบบงาน และภาพรวมทั้งองค์กร 3. วงล้อของการเรียนรู้และพัฒนา 3C-PDSA เชื่อมโยงมาตรฐานและค่านิยมเข้ากับบริบท มีเป้าหมายที่ชัดเจน แล้วหมุนวงล้อ PDSA อย่างต่อเนื่อง

5 Stepwise Recognition Step 3: Quality Culture
Identify OFI from standards Focus on integration, learning, result Step 2: Quality Assurance & Improvement Identity OFI from goals & objectives of units Focus on key process improvement Step 1: Risk prevention Identify OFI from 12 reviews Focus on high risk problems

6 ภาพรวม จุดเริ่ม กระบวนการ คุณภาพ เครื่องชี้วัด ความสำเร็จ มาตรฐาน HA
บันได 3 ขั้น ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ภาพรวม ตั้งรับแล้วใช้วิกฤติเป็น โอกาส วางระบบในเชิงรุก สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ จุดเริ่ม นำปัญหามาทบทวนเพื่อ แก้ไขป้องกัน วิเคราะห์เป้าหมายและ กระบวนการอย่างเป็นระบบ ประเมินระดับการปฏิบัติตาม มาตรฐาน HA และการวัดผลลัพธ์ กระบวนการ คุณภาพ การทบทวนคุณภาพ/ ปัญหา เหตุการณ์สำคัญ Plan-Do-Check-Act (QA) Check-Act-Plan-Do (CQI) การเรียนรู้ในทุกระดับ เครื่องชี้วัด ความสำเร็จ ปฏิบัติตามแนวทาง ป้องกันปัญหาที่กำหนด QA/CQI ที่สอดคล้องกับ เป้าหมายหลักของ หน่วยงาน เครื่องชี้วัดคุณภาพที่ดีขึ้น มาตรฐาน HA ยังไม่เน้นมาตรฐาน HA มาตรฐาน HA ที่จำเป็นและ ปฏิบัติได้ไม่ยาก มาตรฐาน HA ครบถ้วน ประเมินตนเอง เพื่อป้องกันความเสี่ยง (ไม่เน้นแบบฟอร์ม) เพื่อการหาโอกาสพัฒนา เพื่อสังเคราะห์ความพยายามใน การพัฒนา และผลที่ได้รับ ความ ครอบคลุม ครอบคลุมปัญหาที่เคย เกิดขึ้น ครอบคลุมกระบวนการ สำคัญทั้งหมด เชื่อมโยงกระบวนการและ ระบบงาน หลักคิด สำคัญ ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยับทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด Core values ทั้ง 5 กลุ่ม (ทิศทาง นำ ผู้รับผล คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้)

7

8 การประเมินภาพรวมของการพัฒนาทั้งองค์กร
3P : Basic Building Block ของคุณภาพ Purpose Process Performance จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร 3P ในงานประจำวัน 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ 3P ในระดับหน่วยงาน (service profile) 3P กับการพัฒนาระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย (clinical tracer) 3P กับการบริหารองค์กร (strategic management) แนวคิดหรือหลักการสำหรับการพัฒนาคุณภาพที่เรียบง่ายที่สุด เมื่อทบทวนวิธีการพัฒนาคุณภาพที่ใช้ในบริบทต่างๆ แล้ว จะพบว่าสิ่งที่เป็นพื้นฐานร่วมกันสามารถสรุปอยู่ได้ที่ 3P คือ Purpose-Process-Performance กล่าวคือการทำงานหรือการพัฒนาทุกเรื่องประกอบด้วยการมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีกระบวนการที่ดีเพื่อบรรลุเป้าหมาย และมีการรับรู้การบรรลุเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงให้ดีขึ้น การใช้แนวคิดหรือหลักการร่วม เสมือน basic building block ทำให้ง่ายในการทำความเข้าใจกับการพัฒนาคุณภาพ หรือการประเมินว่าการพัฒนาคุณภาพนั้นเป็นไปอย่างเหมาะสมเพียงใด การใช้โมเดลที่เรียบง่าย ทำให้ตัดสิ่งที่รุงรังหรืองานเอกสารที่ไม่จำเป็นออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสิ่งแวดล้อมที่ทุกคนต้องรับภาระงานประจำมาก การคิดถึง 3P ในงานประจำวัน ทำให้ทุกคนร่วมกันสร้างคุณภาพในงานประจำของแต่ละคน ซึงเมื่อนำมารวมกันแล้ว จะก่อให้เกิดคุณภาพโดยรวมของหน่วยงานหรือระบบงานได้ 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ เทียงเคียงได้กับ model ตั้งเป้า-เฝ้าดู-ปรับเปลี่ยน (Aim-Measure-Improve) ของ IHI 3P ในระดับหน่วยงาน คือการใช้ service profile เพื่อวิเคราะห์และติดตามงานในหน้าที่ของหน่วยงาน มีการกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ มีการวิเคราะห์กระบวนการหลักรวมทั้งความเสี่ยงและโอกาสพัฒนาในแต่ละกระบวนการ มีการกำหนดและติดตามตัวชี้วัด รวมทั้งการปรับปรุงที่สอดคล้องกับเป้าหมายหรือประเด็นสำคัญของหน่วยงาน 3P กับการพัฒนาระบบงาน คือการทำความเข้าใจเป้าหมายของระบบงาน การใช้มาตรฐานเป็นแนวทางในการทำงานหรือปรับปรุงกระบวนการที่เกี่ยวข้อง การประเมินประสิทธิภาพของระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย คือการใช้ clinical tracer ในการประเมินสถานการณ์ทั้งด้านบวกและด้านลบของการดูแลผู้ป่วยแต่ละโรค มีการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญและวัตถุประสงค์ในการดูแลผู้ป่วยโรคที่จะตามรอย การตามรอยกระบวนการดูแลแต่ละขั้นตอน การตามรอยกระบวนการพัฒนาคุณภาพ การตามรอยผลลัพธ์ เพื่อนำมาสู่การปรับปรุงที่เหมาะสม 3P กับการบริหารองค์กร คือการกำหนดเป้าประสงค์ของแผนกลยุทธ์ตามพันธกิจและความท้าทายขององค์กร การดำเนินการตามแผนในระบบงาน/แผนงาน/โครงการที่สำคัญ การติดตามผลการดำเนินงาน

9 มิติกระบวนการพัฒนา: 3C - PDSA
ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ความรับผิดชอบของวิชาชีพ Evidence-based Practice การเรียนรู้ ลักษณะผู้ป่วย ลักษณะงาน คุณค่าและความท้าทาย

10 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ I ตอนที่ IV การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนำ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การนำ ผลการ ดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ระบบงานสำคัญของ รพ. ตอนที่ II มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง

11 HA/HPH Core Values & Concepts

12 การใช้มาตรฐานกับการพัฒนาที่เป็นลำดับขั้น
บันไดขั้นที่ 2 บันไดขั้นที่ 1

13 มิติของพื้นที่การพัฒนา
พื้นที่การพัฒนา 4 วง: เพื่อความครอบคลุม/แต่ละส่วนย่อย ไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ด้วยตนเอง

14 มิติของการประเมินผล > มุมมองทั่วไป : S (Study) ใน 3C-PDSA
> มุมมอง HA : เพื่อให้ทราบความก้าวหน้า เกิดความมั่นใจและโอกาสพัฒนา เกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องไปข้างหน้า > การประเมินภายใน : ทำได้ง่าย ทำได้บ่อย หากทำด้วยความเข้าใจว่าเป็นการประเมินเพื่อให้กำลังใจและให้เห็นโอกาสพัฒนา จะเป็นกลไกสำคัญเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นรูปแบบของการเยี่ยมสำรวจเพียงอย่างเดียว > การประเมินจากภายนอก : การยืนยันผลการประเมินตนเองของโรงพยาบาล และการกระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนาในมุมมองที่กว้างขึ้น ทำให้เกิดการรวมตัว ตั้งเป้าหมายระยะเวลาที่จะทำให้สำเร็จ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องยากๆ ได้ในเวลาที่ไม่นานเกินไป


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google