หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 วันที่ 25 สิงหาคม 2550
ที่มา ความสำคัญและปัญหา หลักสูตรสาธารณสุขชุมชน เปิดสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.2547ภายใต้สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มา ความสำคัญและปัญหา (ต่อ)
ส่วนการปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน Bachelor of Science Program in Community Public Health
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขชุมชน) วท.บ. (สาธารณสุขชุมชน) Bachelor of Science (Community Public Health) B.Sc. (Community Public Health)
ปรัชญาหลักสูตร มีความรู้ มีคุณธรรมและจริยธรรม พร้อมทั้งเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่น นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรทั่วไป
วัตถุประสงค์หลักสูตร เพื่อมุ่งหวังให้บัณฑิต มีความเป็นเอนกประสงค์ สามารถปฏิบัติงานบริการสาธารณสุข และสนับสนุนการพัฒนาสาธารณสุขได้ในทุกระดับ มีความสามารถในการบริหารและพัฒนางานสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถบริการจัดการระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนาสาธารณสุขได้
วัตถุประสงค์หลักสูตร (ต่อ) 4. สามารถให้บริการทางวิชาการสาธารณสุขได้ 5. มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงานพัฒนาสาธารณสุขได้ทุกระดับ สามารถดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีทางสุขภาพ และเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ 6. สามารถพัฒนาตนเองทางด้านวิชาการในระดับที่สูงขึ้น
โครงสร้างหลักสูตร หมวด / กลุ่ม / วิชา เกณฑ์ สกอ. จำนวนหน่วยกิต หมวด / กลุ่ม / วิชา เกณฑ์ สกอ. จำนวนหน่วยกิต 1.หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 ไม่น้อยกว่า 33 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 84 ไม่น้อยกว่า 89 2.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 12 2.2 กลุ่มวิชาเอก 77 1) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 55 2) กลุ่มวิชาเอกเลือก 22 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 6 รวม ไม่น้อยกว่า 120 ไม่น้อยกว่า 128
ข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรใหม่และหลักสูตรเดิม จำนวนหน่วยกิตลดลงจากเดิม 148 เป็น 128 หน่วยกิต มีรายวิชาใหม่เพิ่ม ได้แก่ - เพศศึกษาและอนามัยครอบครัว - ภาวะผู้นำและการสร้างทีม - การจัดการสาธารณสุขในชุมชน - ภาษาอังกฤษในงานสาธารณสุข - จริยธรรมวิชาชีพสาธารณสุข - การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานสาธารณสุข - การแพทย์แผนไทย
ข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรใหม่และหลักสูตรเดิม (ต่อ) 3. ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาเดิม 4. ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัดในกลุ่มวิชาเอกเลือก