การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย *

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
ผลเบิกจ่ายภาพรวมกรมส่งเสริมสหกรณ์ (แยกตามประเภทงบรายจ่าย) ประจำปีงบประมาณ 2557 ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน 2557 เวลา น. ที่มา : กองคลัง กลุ่มบัญชีและงบประมาณ.
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
การศึกษาความพึงพอใจของ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สัมนาเรื่อง “ เราได้อะไรจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ. ศ. 2550” หัวข้อบรรยาย ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะ โนอุตสาหกรรม สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
สมเกียรติ รุ่งเรืองวิริยะ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
ลักษณะของระบบบัญชี.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
อรัญญา ไชยศร วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้(เอส.เทค.)
กราฟเบื้องต้น.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์

กราฟเบื้องต้น.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย * ผศ.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ jutamard@src.ku.ac.th บทความวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทยและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างยั่งยืน โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2551

ความสำคัญและที่มาของปัญหา การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรเป็น กิจกรรมหนึ่งในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ให้ประโยชน์ใน 2 ทาง (Torrington and Chapman, 1983)

วัตถุประสงค์การวิจัย ศึกษาการปฏิบัติด้านการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย ศึกษาคุณลักษณะของแรงงานที่เป็นที่ต้องการของสถานประกอบการ

วิธีดำเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประชากร การสำรวจ การสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากร วิสาหกิจในประเทศไทยปี 2549 มีทั้งสิ้น 2,287,057 แห่ง

เล็ก กลาง ใหญ่ ? วิสาหกิจขนาดย่อม วิสาหกิจขนาดกลาง ประเภทกิจการ การจ้างงาน (คน) สินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดิน) การผลิต ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 ล้านบาท บริการ ค้าส่ง ไม่เกิน 25 ค้าปลีก ไม่เกิน 15 ไม่เกิน 30 ล้านบาท วิสาหกิจขนาดกลาง ประเภทกิจการ การจ้างงาน (คน) สินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดิน) การผลิต 51-200 เกินกว่า 50 ล้านแต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท บริการ ค้าส่ง 26-50 เกินกว่า 50 ล้านแต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท ค้าปลีก 16-30 เกินกว่า 30 ล้านแต่ไม่เกิน 60 ล้านบาท

จำนวนวิสาหกิจในประเทศไทย (2549) สาขาอุตสาหกรรม จำนวนกิจการจำแนกตามขนาด ไม่ระบุ เล็ก กลาง ใหญ่ รวม ภาคการผลิต 1,211 668,031 4,320 1,836 675,398 ภาคการค้าและบริการ 2,499 1579026 5442 2442 1,589,409 ไม่ระบุประเภท 4,530 17,677 29 14 22,250 8,240 2,264,734 9,791 4,292 2,287,057 ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2550.

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) กลุมตัวอยาง วิสาหกิจทั้ง 3 ขนาดในทั้งภาคการผลิต และภาคการค้าและบริการ จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 800 ตัวอย่าง พื้นที่ กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง : ชลบุรี สุพรรณบุรี ภาคเหนือ : เชียงใหม่ พิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี ภาคใต้ : สงขลา สุราษฎร์ธานี

วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการทดสอบเครื่องมือ แบบสอบถาม สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น = 0.8948 การวิเคราะห์ข้อมูล Descriptive statistics Inferential statistics

ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม ตำแหน่งงานผู้ตอบ อายุงานผู้ตอบ ระดับการศึกษาผู้ตอบ

ข้อมูลทั่วไปของกิจการ กลยุทธ์ระดับองค์การ ผู้ถือหุ้นของกิจการ

เครื่องมือที่ใช้เพื่อการคัดเลือก กิจการใหญ่ใช้คัดเลือกโดยใช้เครื่องมือมากกว่ากิจการขนาดเล็กกว่า ใช้การสัมภาษณ์มากที่สุด 89.5% ใช้แบบทดสอบ 64.4%

การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก การทดสอบส่วนใหญ่ถูกใช้ในกิจการขนาดเล็กน้อยกว่ากิจการขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญ

สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน วิธีการในการคัดเลือก รวม (%) จำแนกตาม แบบทดสอบที่ใช้ ขนาด ปภ. ข้อมูลจากใบสมัคร 86.4 * สติปัญญา/เชาวน์ 58.1 การสัมภาษณ์ 89.5 ภาษา 57.7 แบบทดสอบ 64.4 บุคลิกภาพ 63.5 การสอบโดยลงมือปฏิบัติ 18.1 ความถนัด 50.1 การตรวจสุขภาพ 41.4 ความรู้ในงาน 37.5 ตรวจสอบบุคคลอ้างอิง 8.6 ความสนใจ 60.4 ผลสัมฤทธิ์ 11.7 ความรู้ทั่วไป 52.6 คอมพิวเตอร์ 40.0 * หมายถึง แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก (ต่อ) แบบทดสอบถูกใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ กิจการที่มีขนาดใหญ่ใช้มากกว่ากิจการขนาดเล็ก ภาคการค้าและบริการ ทดสอบบุคลิกภาพ 71.1% ภาคการผลิต 56.1% การผลิตทดสอบความถนัด 61.5% การค้าและบริการ 38.3% การผลิตทดสอบความสนใจ 64.9% การค้าและบริการ 55.7% ภาคการค้าและบริการ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ 15.4% ภาคการผลิต 8.0%

การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก วิธีการสรรหาเหมาะสมกับงาน มีความยุติธรรมในการคัดเลือก การสรรหามีผู้สมัครมากเพียงพอ ผลการทดสอบผู้สมัครสามารถพยากรณ์ผลการทำงานในอนาคตได้ ผู้ทำการคัดเลือกมีอิสระในการตัดสินใจ การคัดเลือกบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นพิจารณาตามความสามารถ

การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก ปัจจัยที่พิจารณา จำนวน ค่าเฉลี่ย S.D. ระดับ p-value ขนาดของกิจการ กิจการขนาดเล็ก 268 3.42 0.652 มาก 0.200 กิจการขนาดกลาง 266 3.51 0.675 กิจการขนาดใหญ่ 3.49 0.560 สาขาอุตสาหกรรม ภาคการผลิต 400 3.45 0.582 0.303 ภาคการค้าและบริการ 0.677 รูปแบบการจัดตั้งองค์การ บริษัทจำกัด/บริษัทมหาชน 540 3.46 0.620 0.046* ห้างหุ้นส่วน 66 3.34 a 0.695 ปานกลาง ธุรกิจเจ้าของคนเดียว 194 3.55 a 0.636 กลยุทธ์ระดับองค์การที่ใช้ เติบโต 397 3.47 a 0.590 0.005** คงตัว 139 3.62 a b 0.709 ถดถอย 264 3.40 b 0.638 หมายเหตุ: ** หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญอย่างยิ่งที่ระดับ 0.01 * หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 a b หมายถึงมีความแตกต่างรายคู่อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

คุณลักษณะบุคคลที่กิจการต้องการ คุณสมบัติที่ต้องการในระดับมากที่สุด กิจการขนาดใหญ่ต้องการผลการเรียนและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มากกว่ากิจการที่มีขนาดเล็กกว่า กิจการขนาดกลางให้ความสำคัญกับ IQ และ EQ กิจการขนาดเล็ก กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดใหญ่ ความรับผิดชอบ (4.62) ความรับผิดชอบ (4.56) ความรับผิดชอบ (4.51) ความซื่อสัตย์ (4.60) ความซื่อสัตย์ (4.54) ความซื่อสัตย์ (4.51) ความตรงต่อเวลา (4.52) ความตรงต่อเวลา (4.50) ความตรงต่อเวลา (4.49) ความขยันหมั่นเพียร (4.52) ความขยันหมั่นเพียร (4.50) ความขยันหมั่นเพียร (4.40) มนุษยสัมพันธ์ (4.26) ความใฝ่รู้ (4.35) มนุษยสัมพันธ์ (4.31) ความใฝ่รู้ (4.20) การทำงานกับผู้อื่น (4.30) การทำงานกับผู้อื่น (4.21) การทำงานกับผู้อื่น (4.20) มนุษยสัมพันธ์ (4.29)

อภิปรายผลการศึกษา เทียบกับการศึกษาในต่างประเทศ ส่วนใหญ่ใช้การสัมภาษณ์ (ร้อยละ 89.5 และเป็นร้อยละ 100 ในกิจการขนาดใหญ่) เครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือกในกิจการขนาดใหญ่มีความหลากหลายมากกว่ากิจการขนาดเล็ก

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพื้นฐานตามที่กิจการต้องการ กิจการพิจารณาใช้เครื่องมืออื่นๆ ที่มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ประกอบการใช้การสัมภาษณ์ การเลือกใช้แบบทดสอบตามความจำเป็น

ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาต่อไป การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรในประเทศไทยในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ผลที่เกิดตามมาจากการมีสภาพการสรรหาบุคลากรเป็นไปอย่างยุติธรรม เพื่อยืนยันความจำเป็นในการสร้างความตระหนักต่อการปฏิบัติอย่างยุติธรรมต่อบุคลากรในกิจการ