ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Risk Management JVKK.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
PCT ทีมนำทางคลินิก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์ สรุปการเตรียมความพร้อมในการ Re-accreditation เรื่องระบบ IC, ระบบยา, ระบบงานสนับสนุน ในเดือน เมษายน – พฤษภาคม 2550 โดย วิทยากรจาก พรพ. อาจารย์ ผ่องพรรณ ธนา รศ. ภญ. ธิดา นิงสานนท์ ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์

ระบบ IC ควรทำ Post Discharge Surveillance คลุมหัตถการสำคัญ การประเมินของประสิทธิภาพของการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ควรนำเวชระเบียนที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น NI มาทบทวน ควรบริหารเชิงรุก ในการจัดการกับปัญหาการติดเชื้อของผู้ป่วยที่ได้รับ Refer IC ควรออกไปนอกโรงพยาบาล หาเครือข่ายและวางกำหนดแนวทางร่วมกับชุมชน ควรแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของการดำเนินงานเช่นการดูแลด้านอาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม น้ำดื่มน้ำใช้ บำบัดน้ำเสีย และในการตรวจสุขภาพบุคลากร มีบุคลากรสุขภาพดี /เสี่ยง/ป่วย มากน้อยเพียงไร ควรมีการประเมินพฤติกรรมพื้นฐานตลอดเวลา เช่น การล้างมือของบุคลากร การแยกทิ้งขยะ เป็นต้น

ระบบ IC (ต่อ) ระบบเครื่องมือ ระบบการจ่ายกลาง ระบบผ้า ควรจัดทำศูนย์เครื่องมือ/ศูนย์ล้างเครื่อง เพื่อบริการได้อย่างทั่วถึง ควรมีการประเมินติดตามการปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ เช่นการล้างเครื่องมือในหน่วยงานต่างๆ มีการปฏิบัติไม่เหมือนกัน ระบบการจ่ายกลาง ควรจัดทำศูนย์ CSS ใหม่ที่เอื้อต่อการบริการทั้งองค์กร ระบบผ้า จัดระบบการแยกผ้าให้ชัดเจน ควรจัดทำศูนย์ผ้า เพื่อบริการงานทั้งองค์กร

ระบบยา ควรมีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกของความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาของผู้ป่วยนอก ควรพัฒนาระบบ IT มาช่วยการป้องกันความคลาดเคลื่อนในการสั่งยาและจ่ายยา มีระบบเตือน Drug Interaction ของยากลุ่มเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพเอื้อต่อผู้ใช้ การรายงานการแพ้ยาซ้ำ และการเกิดภาวะแทรกซ้อนในการใช้ยา จัดทำ Warfarin Clinic แบบครบวงจรเชื่อมโยงทั้งผู้ป่วยในและนอก

ระบบยา(ต่อ) การกระจายยา ควรทำระบบ Daily dose ช่วยลดปัญหาการคืนยา และความคลาดเคลื่อนในการให้ยา ควรมีการทำระบบ Reconciliation เพื่อประเมินยาที่ผู้ป่วยได้รับมาก่อน การประเมินความเหมาะสมของการสั่งใช้ยา (DUE) ต้องมีนโยบายที่ชัดเจน มีการเก็บข้อมูลและผลเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดแนวทาง จัดทำ Pharmacy care ในหอผู้ป่วย เพิ่มเติมบทบาทเภสัชในการ หน้าที่สำคัญคือการกำกับดูแลการใช้ยาAntiseptic และDisinfectants

ระบบงานสนับสนุนที่สำคัญ การป้องกันอัคคีภัย ควรมีแผนการซ้อมเพื่อเตรียมความพร้อมทั้งยามปกติและยามวิกาล ทบทวนประสิทธิภาพของการจัดการว่าเป็นอย่างไร ดูแลให้มีการติดตั้งไฟฉุกเฉินบริเวณจุดรวมพล การดูแลระบบ Gas Pipeline Oxygen เหลวและไฟฉุกเฉิน ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมเพียงพอเหมาะสมพร้อมใช้งาน ควรทราบข้อมูลว่าไฟ Pump ได้นานแค่ไหน แรงดันที่ Set ดับไฟมีขนาดเท่าใด Oxygen มีเพียงพอหรือไม่ ใช้ได้นานกี่ชั่วโมง / แนวทางการปิด-เปิด Alam เป็นอย่างไร

ระบบงานสนับสนุนที่สำคัญ (ต่อ) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สิ่งที่พบ คือ มีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเภสัชกรและพยาบาลโดยการปรับเงินเดือนให้สูงขึ้น ข้อเสนอแนะ ได้แก่ สร้างความเป็นชาวสวนดอก กำหนดว่าคนพันธ์แท้ของสวนดอกเป็นอย่างไร นำ Core Values มาจับ ประเมินภาพรวมของหน่วยงาน ว่า Form (มี Core Values ครอบคลุมทุกหน่วยงาน) และ Firm (การคิดและการทำงานฝังในวัฒนธรรมขององค์กร)

ระบบงานสนับสนุนที่สำคัญ (ต่อ) ระบบสารสนเทศ ควรวัดวิเคราะห์ จัดการให้เกิดความรู้ได้แก่ ทบทวนว่าการเก็บข้อมูลผู้ป่วยมีความครอบคลุมหรือไม่ มี Code Error เท่าไร การบันทึกข้อมูลมีความผิดพลาดเกิดจากประเด็นใดบ้าง ทบทวนการปกปิดข้อมูลผู้ป่วยคดี ว่ามีการแยกเก็บข้อมูลอย่างไร กำหนดขอบเขตของผู้ใช้บริการเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ระดับโรงพยาบาล (ทีมบริหาร) ระดับทีมนำทางคลินิก ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล กำหนดกลุ่มผู้ใช้ ลูกค้าที่ต้องดูแล เช่น PCT ส่งข้อมูลอะไรให้ และได้รับข้อมูลอะไรจาก PCT การพัฒนาการบริการสารสนเทศในเชิงรุก ประมวลเชื่อมโยงข้อมูลกับการสร้างเสริมสุขภาพเช่น ผู้ป่วยโรค HT มีกี่คนเป็น CVA กี่คน Stroke กี่คน /มีภาวะแทรกซ้อนอะไรบ้าง/จำนวนเท่าไหร่ / มี Case ใหม่เกิดขึ้นปีละเท่าไหร่