งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(ด้านงานอาชีวอนามัย)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(ด้านงานอาชีวอนามัย)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (ด้านงานอาชีวอนามัย)
สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ด้านงานอาชีวอนามัย) โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

2 การบริหารจัดการ กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ แต่งตั้งคณะกรรมการ
ปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ กำหนดตัวชี้วัด ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามประเมินผล

3 ขอบเขตงาน 1.เฝ้าระวังสุขภาพ เชิงรุกและเชิงรับ การสร้างเสริมสุขภาพ
การเฝ้าระวังสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค 2.เฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อม ประเมินความเสี่ยงการทำงานของบุคลากรในการทำงาน จัดแนวทางการแก้ไขความเสี่ยง ติดตามประเมินผล

4 แผนภูมิงานอาชีวอนามัย
ประธานคณะกรรมการ ENV พญ.ศรีสกุล อุ่นพันธ์ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายสุขาภิบาลและป้องกันโรค ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์ดูแลสุขภาพ นายสายันต์ เปี่ยมทองคำ นายภูวดล มนต์วิรัตน์กุล นางสาวผาสุก กัลย์จารึก นางสาววิไลลักษณ์ ผกากาญจน์ งานอาชีวอนามัย (ในโรงพยาบาล) งานอาชีวอนามัย (นอกโรงพยาบาล) งานสร้างเสริมสุขภาพ (ใน/นอก โรงพยาบาล) งานตรวจสุขภาพบุคลากรและทดสอบสมรรถภาพ ทีมสหวิชาชีพ

5 แผนภูมิความเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย และ เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการENV คณะกรรมการ IC คณะกรรมการ RM คณะกรรมการHPH คณะทำงาน PCT หน่วยงานต่างๆ : จป ICWN คณะกรรมการประสานบริการ คณะทำงาน HWP คณะทำงาน 5ส คณะทำงาน (SHE)

6 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
การดำเนินงานอาชีวอนามัยของฝ่ายบริหาร

7 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
การดำเนินงานอาชีวอนามัยโดยความร่วมมือ จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 1 ราชบุรี

8 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
การดำเนินงานอาชีวอนามัยโดยความร่วมมือ จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 1 ราชบุรี

9 การดำเนินงานทางด้านการยศาสตร์
ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

10 งานอาชีวอนามัยกับการส่งเสริมสุขภาพ
สนับสนุนโครงการถนนสีขาว สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ สนับสนุนอุปกรณ์การออกกำลังกาย สนับสนุนกิจกรรมด้านโภชนาการอาหาร สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการใช้อุปกรณ์ป้องกัน สนับสนุนการตรวจสุขภาพบุคลากร สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

11 การส่งเสริมสุขภาพด้านความปลอดภัย
จัดอบรมโครงการถนนสีขาว

12 กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ
สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ

13 กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ
สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ

14 กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
สนับสนุนอุปกรณ์การออกกำลังกายกำลังกาย

15 กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ
การแนะนำตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

16 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ด้านการรักษาความสะอาด

17 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ด้านการรักษาความสะอาด

18 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ด้านความปลอดภัย

19 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ด้านการปรับปรุงภูมิทัศน์

20 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ด้านการปรับปรุงภูมิทัศน์

21 สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน

22 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
การสนับสนุนการใช้อุปกรณ์ป้องกัน

23 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
การสนับสนุนการตรวจสุขภาพบุคลากร

24 ตารางแสดงการตรวจสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553
ตารางแสดงการตรวจสุขภาพบุคลากร ปี ปี 2553 การตรวจสุขภาพ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) ร้อยละ บุคลากรทั้งหมด 374 100 392 439 ได้รับการตรวจสุขภาพ 316 84.50 335 85.45 395 89.97 ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ 58 15.50 57 14.55 44 10.03

25 ตารางแสดงผลสรุปภาวะสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553
ตารางแสดงผลสรุปภาวะสุขภาพบุคลากร ปี ปี 2553 ผลการตรวจ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) ร้อยละ ปกติ 296 93.67 317 94.64 337 85.32 ผิดปกติ 20 6.33 18 5.36 58 14.68 รวม 316 100 335 395

26 ผลการตรวจสุขภาพประจำปี 2550-2551 ปี 2553
โรค ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) จำนวนที่ ผิดปกติ(คน) จำนวนที่ผิดปกติ(คน) ไขมันในเลือดสูง 133 42 143 97 167 110 ความดันโลหิตสูง 316 5 335 11 395 13 เบาหวานแฝง 15 188 34 เบาหวาน 8 6 4 วัณโรคปอด 1 3

27 การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง
ประเมินความ เสี่ยงของงาน จำนวน (คน) พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2553 ปกติ ผิดปกติ 1.การตรวจ สมรรถภาพปอด 13 25 18 7 31 2.ตรวจสารปรอท 10 11 3.ตรวจเคมีบำบัด 28 27 17 4.ตรวจสารเคมี ในเลือด NA 3

28 ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง (ต่อ) ประเมินความเสี่ยงของงาน
จำนวน (คน) พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2553 ปกติ ผิดปกติ 5.ตรวจNasal Swab NA 11 6.ตรวจวัดสายตา 100 12 88 9 7.ตรวจการได้ยิน 29 22 7 24

29 สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ปัญหาสุขภาพกาย * BMI > ร้อยละ * รอบเอวเกิน ร้อยละ * โคเลสเตรอลสูง ร้อยละ ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพ * การออกกำลังกายน้อย ร้อยละ * บุคลากรสูบบุหรี่ ร้อยละ 4.37 * บริโภคอาหารที่มีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้น ร้อยละ

30 การให้ภูมิคุ้มกันโรค ในบุคลากรกลุ่มเสี่ยง
วัคซีน 2551 (ร้อยละ) 2552 2553 ไข้หวัดใหญ่ 85.02 61.73 46.45 Hepatitis A NA 80.00 Hepatitis B 84.90 87.09

31 ความภาคภูมิใจ ระดับ4 งานอาชีวอนามัยผ่านการรับรองการดำเนินงาน
การประเมินความเสี่ยงการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาล ระดับ4

32 โอกาสพัฒนา บูรณาการความเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่างๆ ให้เกิดการดำเนินงานอาชีวอนามัยแบบครบวงจร จัดหาอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน รณรงค์การรักษาสิ่งแวดล้อมและจัดการด้านความปลอดภัย ให้เอื้อต่อการให้บริการอย่างต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt (ด้านงานอาชีวอนามัย)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google