แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การประกันคุณภาพภายนอก
สาระสำคัญของการสัมมนา
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Graduate School Khon Kaen University
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
PDCA คืออะไร P D C A.
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การจัดการความรู้ KMUTNB
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2549 “การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง” ท่านเคยได้ยินเรื่องนี้หรือไม่ ??
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 27 พฤศจิกายน 2549 โดย พีณา สลีวงศ์ สำนักประกันคุณภาพการศึกษา

ตอบคำถาม ?? 1. การประกันคุณภาพการศึกษา คือ อะไร 2. ใครได้ประโยชน์จากการประกันคุณภาพฯ บ้าง 3. หน่วยงานท่านทำอะไร ที่เป็นการประกันคุณภาพ บ้าง 4. ท่านทำอะไรบ้างในการประกันคุณภาพ

จะเริ่มอย่างไร จุดเริ่มต้น สร้างความเข้าใจ วางแผน / วางระบบ วางแผน / วางระบบ ปรับปรุงแก้ไข ผู้บริหารตระหนักและให้ความสำคัญ นำไปปฏิบัติ ตรวจสอบ/ประเมิน

ประกันคุณภาพทำไม การประกันคุณภาพ คือ ระบบการบริหารจัดการที่กำกับขบวนการดำเนินงาน (การผลิต การบริการ) เพื่อให้เกิดความมั่นใจและรับรองได้ว่าผลและ/ผลลัพธ์จากการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายและจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ ประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ…. “ สร้างความมั่นใจให้ผู้เกี่ยวข้อง(ผู้ปกครอง นักศึกษา ประชาชนทั่วไป) ว่าผู้จบการศึกษาจะมีคุณภาพตามที่ต้องการ”

การประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 2 ส่วนที่สำคัญ 1. การประกันคุณภาพภายใน 2. การประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน เป็นการจัดกิจกรรมการควบคุมคุณภาพภายในมหาวิทยาลัย โดยการจัดระบบและกลไกตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพที่กำหนดไว้ เพื่อให้มีความมั่นใจว่ามหาวิทยาลัยดำเนินการตามภารกิจหลักอย่างมีคุณภาพ การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการตรวจสอบและประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยโดยหน่วยงานภายนอก (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา [องค์การมหาชน]:สมศ.)เพื่อประกันว่ามหาวิทยาลัยดำเนินการตามภารกิจหลักได้อย่างมีคุณภาพกระบวนการประกันคุณภาพจากภายใน การประเมินคุณภาพและการรับรองคุณภาพ

เก็บข้อมูลการปฏิบัติงาน แนวทางปฏิบัติ Phase 1 Phase 2 Phase 3 ให้ใจ เปิดใจยอมรับ การประกันคุณภาพ ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติตาม นโยบาย /ระบบ / แผนงาน ของหน่วยงาน เก็บข้อมูลการปฏิบัติงาน

ข้อมูลในการปฏิบัติงาน งานหลัก งานรอง งานอื่นๆ การพัฒนาเอง ภาระงานที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ระบุในสัญญาจ้างหรือ โดยการแต่งตั้งของ มหาวิทยาลัยหรือโดยการมอบหมายของผู้บังคับบัญชาเป็นหน้าที่หลักที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรซึ่งมีความแตกต่างกันตามสายงานของแต่ละหน่วยงาน ภาระงานนอกเหนือจากงานหลัก และต้องได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติในเวลาทำการ การได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการต่างๆ การเป็นวิทยากร ภายใน ภายนอก การทำงานวิจัย ที่ปรึกษากิจกรรม การทำกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การเข้าร่วมสัมมนาอบรม -ภายใน -ภายนอก การได้รับรางวัล/ประกาศเกียรติคุณ

ให้ความร่วมมือให้ข้อมูลกับคณะผู้ ประเมินคุณภาพในและภายนอก แนวทางปฏิบัติ Phase 4 Phase 5 Phase 6 จัดทำแฟ้มสะสมงาน / ประเมินตนเอง ให้ความร่วมมือส่งข้อมูลให้แก่ กรรมการ QA คณะ/ผู้บริหาร ให้ความร่วมมือให้ข้อมูลกับคณะผู้ ประเมินคุณภาพในและภายนอก

แนวทางการปฏิบัติของกรรมการ QA รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล จัดทำรายงานการประเมินตนเอง(SAR) ประสานงานกับqao เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายใน ส่งเสริมกิจกรรมการประกันคุณภาพให้บุคลากรในหน่วยงาน

แนวทางสู่คุณภาพ Plan วางแผน กำหนดตัวชี้วัด ACT นำผลไปปรับปรุงการปฏิบัติงาน Do ลงมือปฏิบัติ CHECK วัดประเมินผลการปฏิบัติงาน บันทึกผลการปฏิบัติงาน

Thank You สำนักประกันคุณภาพการศึกษา The Educational Quality Assurance Office http://qao.payap.ac.th E-Mail : qa@payap.ac.th