ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ระบบการบริหารการตลาด
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
5 ส. 5 ส. คืออะไร ? 5 ส. เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มุ่งเน้นในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาด การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสถานที่ทำงานหรือสถานประกอบการกิจกรรมหลักของ.
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
โรงพยาบาลจึงประหยัดพลังงานได้รางวัล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการ ระบบวิศวกรรมความปลอดภัย และสภาพแวดล้อม โดยใช้ เทคโนโลยีสะอาด

ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด แนวคิดของเทคโนโลยีสะอาด ขั้นตอนการประยุกต์เทคโนโลยีสะอาด ถาม – ตอบ

ความหมายของเทคโนโลยีสะอาด (C……………….……. T………………………….: CT) Cleaner P…………….. : CP Pollution P……………. : PP Green P……………….. : GP W…….. Minimization : WM “เน้นการป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษ มากกว่าการบำบัดก่อนปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม”

ความหมายโดยสรุปของ "เทคโนโลยีสะอาด“ คือ กลยุทธ์ในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อจัดการทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เปลี่ยนเป็นของเสีย น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด จึงเป็นทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อม และการลดค่าใช้จ่าย ในการผลิตไปพร้อม ๆ กันด้วย สำหรับประเทศไทย การนำเทคโนโลยีสะอาด มาใช้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ

ที่มาของเทคโนโลยีสะอาด ……………………………………………….. ปัจจุบัน อดีต การบำบัดมลพิษที่ปลายทางหรือปลายท่อ (End of Pipe Treatment) หลีกเลี่ยงและลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด ใช้หลักการ “การป้องกันย่อมดีกว่าการแก้ไข” ค่าใช้จ่ายในการบำบัดสูง ค่าใช้จ่ายในการบำบัดลดลง

ความหมายของเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology: CT) การพัฒนา เปลี่ยนแปลง ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของกระบวนการผลิต (การบริการ การบริโภค) โดย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ มีความคุ้มค่าทาง…………………… ด้วยวิธีการลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด การใช้ซ้ำ หรือการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ โดยการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร

ความจำเป็นในการประยุกต์เทคโนโลยีสะอาด การ………… ……………และ กระแสสังคม ภาคการเงิน ทรัพยากรมีจำกัด ลูกค้า กฎหมาย ระบบมาตรฐาน พนักงาน คุณภาพ…………..

เปรียบเทียบ โรงงาน  โรงพยาบาล กระบวนการผลิต  การให้บริการผู้ป่วย วัตถุดิบ  ผู้ป่วย

ทำไมถึงต้องเทคโนโลยีสะอาด? ปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม  บังคับด้วย……..ให้หาทาง กำจัดหรือป้องกัน การกำจัดหรือป้องกัน  ต้องลงทุนเพิ่มในส่วนนี้ .......สูงขึ้น + ภาวะที่การแข่งขันที่รุนแรง  เสียเปรียบ คู่แข่งขัน เทคโนโลยีสะอาดสามารถช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้วยการลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้มากมาย ทำให้ผลผลิตเพิ่มและต้นทุนลด

ประโยชน์ CT ต่อ………………..……. • มีสุขภาพแข็งแรง ปลอดจากสารพิษ • ได้ใช้สินค้าที่มีคุณภาพสูงขึ้น • มีสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ดีขึ้น • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล • มีความภูมิใจในผลงานที่มีส่วนร่วมทำ ให้เกิดสิ่งดีๆ

ประโยชน์ CT ต่อ……………….………. • มีความสมานสามัคคีกันระหว่าง บ้าน ชุมชน และโรงงานดีขึ้น • สังคมน่าอยู่

ประโยชน์ CT ต่อภาค………………………… พลังงาน และลดมลพิษ • การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพราะ คนงาน มีสุขอนามัยดี และลดความเสี่ยงต่อ การเกิดอุบัติเหตุ • คุณภาพสินค้ามีการปรับปรุง • เพิ่มประสิทธิภาพและกำไร • เกิดของเสียน้อยลง ลดต้นทุนการบำบัด ลด มลพิษจากอุตสาหกรรม • ภาพพจน์ดีขึ้น

ประโยชน์ CT ต่อภาค…………………… และสังคมแห่งชาติ • ส่งเสริมภาพพจน์ของประเทศไทยด้านการ จัดการสิ่งแวดล้อมและเพิ่มศักยภาพในการ ส่งออก

ประโยชน์ของการประยุกต์ CT ลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพ ใช้วัตถุดิบและพลังงานอย่างคุ้มค่า สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานประกอบการกับชุมชน ผลดีต่อสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ต้นทาง ความพึงพอใจของลูกค้าและภาพพจน์ที่ดีขององค์กร เป็นไปตามกฎหมาย ด้านสิ่งแวดล้อมของทางราชการ

ใช้วัตถุดิบ และทรัพยากรมาก และก่อให้ เกิดของเสียมาก ก่อนทำ CT ใช้วัตถุดิบ และทรัพยากรมาก และก่อให้ เกิดของเสียมาก ใช้วัตถุดิบ และทรัพยากรเท่าที่จำเป็น ลดของเสียลง และเพิ่มผลผลิตมากขึ้น หลังทำ CT

แนวคิดและหลักการ CT หลักการของ CT ลดของเสียที่แหล่งกำเนิด ใช้ซ้ำ /หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ลดของเสียที่แหล่งกำเนิด ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต วัตถุดิบ เทคโนโลยี /เครื่องจักร วิธีการทำงาน การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) การสกัดของมีค่า (recovery)

การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ ออกแบบให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต เปลี่ยนแปลง…………… ใช้วัตถุดิบที่สะอาด / มีสารพิษน้อย / ไม่ใช้วัตถุดิบอันตราย เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ออกแบบกระบวนการ / ใช้ระบบอัตโนมัติ ฯลฯ ปรับปรุงวิธีการ…………. ฝึกอบรม / แยกของเสีย / บำรุงรักษา ฯลฯ

การใช้ซ้ำ / หมุนเวียนมาใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ (reuse) นำของเสียจากกระบวนการมาใช้ซ้ำโดยตรง หรือใช้ในกระบวนการอื่น นำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) นำของเสียไปผ่านกระบวนการเพื่อนำกลับมาใช้อีกหรือเป็นผลพลอยได้ที่มีมูลค่ามากขึ้น ……………………..(recovery) แยกของที่มีค่าออกจากของเสียแล้วนำกลับมาใช้ใหม่

หลัก 5 R - Re…… การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุ ภัณฑ์สิ้นเปลือง     - Reuse การนำมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น     - Re…… การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อ ได้ดังเดิม     - Re…... การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ     - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนำกลับมาใช้ได้ใหม่ โดย นำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง - Recovery แยกของที่มีค่าออกจากของเสียแล้วนำกลับมาใช้ใหม่

ขั้นตอนการทำ CT 1. วางแผนและจัดตั้งทีม CT 5. ลงมือปฏิบัติ / ประเมินผล 2. ………………….. 4. ศึกษาความเป็นไปได้ 3. ประเมินละเอียด

1. วางแผนและจัดตั้งทีม CT ขอความเห็นชอบจากผู้บริหาร ผู้บริหารต้องเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเทคโนโลยีสะอาดในทุก ๆ ขั้นตอนที่สำคัญ วิธีการจูงใจผู้บริหาร แนวทางการดึงผู้บริหารเข้ามามีส่วนร่วม ให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ แสดงให้เห็นถึงความทุ่มแทและรายงานความก้าวหน้าให้ทราบอย่างสม่ำเสมอ ผล ผล ผล ตัวเลข ตัวเลข ตัวเลข

1. วางแผนและจัดตั้งทีม CT Together Everyone Achieves More หัวหน้าทีม  ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารระดับสูง Authority + Power + Charm สมาชิกของทีม  มาจากผู้ปฏิบัติการในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง + (ผู้เชี่ยวชาญภายนอก) จำนวนสมาชิก  ขึ้นอยู่กับโครงสร้างองค์กร

1. วางแผนและจัดตั้งทีม CT สำรวจ วิเคราะห์ ทบทวน กระบวนการในการทำงานและการใช้ทรัพยากร ศึกษาและนำเสนอวิธีการแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการใช้ทรัพยากร ลงมือปฏิบัติ ติดตาม การเปลี่ยนแปลง ประชาสัมพันธ์และกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนรียนรู้

2. การ………………………………………..………เบื้องต้น เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจ หน่วยงาน พื้นที่ ลักษณะการทำงาน เครื่องจักร เครื่องมือที่ใช้ สารเข้า สารออก (แหล่งที่มา + ปริมาณที่ใช้) พลังงาน (แหล่งที่มา + ปริมาณที่ใช้) สังเกตสิ่งผิดปกติ

2. การตรวจประเมินเบื้องต้น ทำแผนภูมิขั้นตอนกระบวนการ Process ของเสีย ส่วนนำเข้า

2. การตรวจประเมินเบื้องต้น ทำแผนภูมิขั้นตอนกระบวนการ กิจกรรมการรักษาพยาบาล น้ำ ไฟฟ้า เวชภัณฑ์ ขยะ น้ำเสีย ของเสียอันตราย แผนกผู้ป่วยนอก

2. การตรวจประเมินเบื้องต้น เลือกปัญหาสิ่งแวดล้อมหลักสำหรับการประเมินละเอียด เลือกจุดที่น่าจะเป็นไปได้ในทางปฏิบัติก่อน เช่น มีกฎหมายควบคุม มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมาก / มีของเสีย มลพิษ มีการสูญเสียพลังงานมาก มีแนวโน้มเกิดอันตรายสูง ทีมงานเห็นด้วย และบุคลากรมีความพร้อม

3. การตรวจประเมินละเอียด รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ขั้นตอนที่เกิดการสูญเสียมากที่สุด ประเมินและจัดทำสมดุลมวลสารในแต่ละหน่วยการผลิต มวลเข้า = มวลออก + มวลที่สะสมในระบบ สมดุลน้ำ สมดุลพลังงาน (ไฟฟ้า แก๊ส น้ำมัน ไอน้ำ) ของเสีย และมลพิษ

3. การตรวจประเมินละเอียด วิเคราะห์จุดที่เป็นสาเหตุของของเสีย ปัญหา วัตถุดิบ เทคโนโลยี การปฏิบัติงาน ของเสีย ผลิตภัณฑ์

3. การตรวจประเมินละเอียด นำเสนอข้อเสนอเทคโนโลยีสะอาด เปลี่ยนวัตถุดิบ เปลี่ยนเทคโนโลยี เปลี่ยนวิธีการจัดการและการปฏิบัติงาน นำกลับมาใช้ซ้ำ ฯลฯ

3. การตรวจประเมินละเอียด จัดกลุ่มและลำดับความสำคัญ ตามหน่วยการดำเนินงาน กลุ่มที่ทำได้เลย / ต้องศึกษาเพิ่มเติม / ทำไม่ได้

4. การศึกษาความเป็นไปได้ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค ผลิตภัณฑ์ / อัตราการผลิต / ความปลอดภัย ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ ความคุ้มค่าในการลงทุน ความเป็นไปได้ด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ดีขึ้น / เลวลง)

5. การลงมือปฏิบัติ ทำแผนปฏิบัติการ ดำเนินการตามแผน กิจกรรมที่ต้องทำ / ทุนสนับสนุน / บุคลากร / ผู้รับผิดชอบ / ระยะเวลาดำเนินงาน / วิธีการติดตามและวัดผล ดำเนินการตามแผน ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงปริมาณของเสีย / มลพิษ การเปลี่ยนแปลงการใช้ทรัพยากร (วัตถุดิบ พลังงาน) การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในการทำงาน ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น

5. การลงมือปฏิบัติ เปรียบเทียบสภาพก่อนและหลังการทำ CT ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ให้ความสำคัญต่อกิจกรรม CT อย่างต่อเนื่อง PM / QC / KM เน้นการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร การศึกษา / อบรม / แลกเปลี่ยนความคิดเห็น / รางวัล ทำบัญชีความสูญเสียอย่างต่อเนื่อง ผนวก CT เข้าในแผนการดำเนินธุรกิจ แผนการตลาด แผนการเงิน แผนปฏิบัติงาน แผนการบริหาร