โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
Office of information technology
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ผู้ทำโครงงาน ด.ช.ณัฐกิตติ์ พงษ์พัฒน์ ม.1/11 เลขที่ 14 ด.ช.ธีรภัทร สื่อสัตรัตน์ ม.1/11 เลขที่ 22 ด.ช.ปรเมศร์ ปานประเสริฐ ม.1/11 เลขที่ 25 ด.ช.เปรมชนัน ทองอุ่น ม.1/11 เลขที่ 29 ด.ญ.วิจิตรา พงษ์ดี ม.1/11 เลขที่ 36

บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ ด.ช.ณัฐกิตติ์ พงษ์พัฒน์ หนัก 50 กก. สูง 158 ซม. อ่อนตัว 14 ดันพื้น 39 ลุกนั่ง 38 เดิน/วิ่ง 3.26 น้ำหนัก ตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ ผลการทดสอบสมรรถภาพดีมาก ไม่มีปัญหาอะไร ด.ช.ธีรภัทร สื่อสัตรัตน์ หนัก 27 กก. สูง 135 ซม. อ่อนตัว -3 ดันพื้น 38 ลุกนั่ง 49 เดิน/วิ่ง 4.57 น้ำหนัก ค่อนข้างน้อย ส่วนสูงค่อนข้างเตี้ย มีสาเหตุมาจากการกินอาหารที่ไม่ครบ 5 หมู่ ทานน้อยเกินไปและการ นอนหลับที่ไม่เพียงพอ ผลการทดสอบสมรรถภาพดี ด.ช.ปรเมศร์ ปานประเสริฐ หนัก 54 กก. สูง 151 ซม. อ่อนตัว 1 ดันพื้น 15 ลุกนั่ง 45 เดิน/วิ่ง 4.00 น้ำหนัก ค่อนข้างมาก มีสาเหตุมาจากการกินอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลเยอะเกินไป ส่วนสูงตามเกณฑ์ ผลทดสอบสมรรถภาพต้องปรับปรุงเพราะขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและมีน้ำหนักตัว ค่อนข้างมาก ด.ช.เปรมชนัน ทองอุ่น หนัก 35 กก. สูง 145 ซม. อ่อนตัว -4 ดันพื้น 27 ลุกนั่ง 28 เดิน/วิ่ง 4.44 น้ำหนัก ตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ ผลทดสอบสมรรถภาพพอใช้เพราะขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ด.ญ.วิจิตรา พงษ์ดี หนัก 45 กก. สูง 155 ซม. อ่อนตัว -3 ดันพื้น 15 ลุกนั่ง 30 เดิน/วิ่ง 4.04 น้ำหนักตาม เกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ ผลทดสอบสมรรถภาพต้องปรับปรุงเพราะขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น - การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เพศชายและเพศหญิงจะแตกต่างกันชัดเจน เนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศ ความสูงเฉลี่ยของ ผู้หญิงไทยขณะมีประจำเดือนครั้งแรก คือ 148.8 ซม. และสูงเต็มที่วัยผู้ใหญ่เพิ่มขึ้นอีก 6.2 ซม. ส่วนในเพศชายมีความสูงของ ชายไทยโดยเฉลี่ย 169.6 ซม. - การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ ทำให้วัยรุ่นเกิดความรู้สึกวิตกกังวลมากขึ้น พ่อแม่ ผู้ปกครองต้องรู้เท่าทันอารมณ์ของ วัยรุ่น รู้จักโอนอ่อนผ่อนตามอย่างเหมาะสม ใช้ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจให้วัยรุ่นสามารถผ่านพ้นไปได้อย่างปลอดภัย 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย ควรกินอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออก กำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของตนเอง 3. อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น ร่างกายต้องการสารอาหารในการสร้างเซลล์ต่างๆ กระดูกและฟัน และต่อมต่างๆ พลังงาน ขึ้นอยู่กับ การเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่นควรได้รับวันละ 2200-3000 แคลอรี โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ควร ได้รับวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม น้ำ เป็นส่วนประกอบของเซลล์ ควบคุมการทำงานในร่างกาย วัยรุ่นควรดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว 4. วิธีการดูแลน้ำหนักตัว ควรปฏิบัติอย่างมีวินัยในตนเอง คือ รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ ลดอาหารประเภทแป้ง ไขมันและ น้ำตาล ทานผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงการอดอาหาร ควรทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้ เพียงพอ 5. วิธีการเสริมสร้างและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ว่ายน้ำ ตีปิงปอง เตะ ฟุตบอล เล่นบาส

บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ 2. ให้สมาชิกแต่ละคนชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและจดบันทึกผลทุกๆวันศุกร์ 3. ให้สมาชิกในกลุ่มหมั่นออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 4. ให้สมาชิกในกลุ่มทดสอบสมรรถภาพทางกายอีกครั้ง

น้ำหนัก/ ส่วนสูง ครั้งที่/ว/ด/ป บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน นน./ น้ำหนัก/ ส่วนสูง ครั้งที่/ว/ด/ป ชื่อสมาชิก สส. 1 30/11/55 2 7/12/55 3 14/12/55 4 21/12/55 5 28/12/55 6 4/1/56 7 11/1/56 8 18/1/56 ด.ช.ณัฐกิตติ์ พงษ์พัฒน์ 50 1.58 1.59 1.60 1.61 1.62 1.63 ด.ช.ธีรภัทร สื่อสัตรัตน์ 27 1.35 32 1.37 33 1.38 31 1.39 30 1.40 ด.ช.ปรเมศร์ ปานประเสริฐ 54 1.51 1.52 53 1.53 1.54 1.55 52 1.56 1.57 ด.ช.เปรมชนัน ทองอุ่น 35 1.45 36 38 1.46 39 1.47 1.48 1.49 1.50 ด.ญ.วิจิตรา พงษ์ดี 45 46 44 เปรียบเทียบน้ำหนัก/ส่วนสูง สมรรถภาพในแต่ละด้าน ของภาคเรียนที่ 1 และ 2

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน สรุปผล สำเร็จ จากการทำโครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ทำให้สมาชิกในกลุ่มทุกคน มีน้ำหนักที่ลดลง สุขภาพแข็งแรงและ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น ซึ่งโครงการนี้ทำให้สมาชิกทุกคนคิดก่อนกินเสมอและ พยายามหลีกเลี่ยงการกินของหวานและอาหารไขมัน จากเมื่อก่อนไม่ ค่อยได้กินผักผลไม้ กินแต่ของหวาน อาหารขยะ ซึ่งทำให้สิ้นเปลืองเงิน โดยเปล่าประโยชน์และส่งผลเสียต่อสุขภาพ และหันมาออกกำลังกาย กันมากขึ้น

บรรณานุกรม http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/วัยรุ่น http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no12/teen.html http://www.main.ptpk.ac.th/mana_Online/m1/unit3/n3-2.html http://www.thaiblogonline.com/Racha007.blog?PostID=14597 http://www.nmt.ac.th/product/web/1/e8.htm