งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี รายชื่อสมาชิก ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ ม.1/2 เลขที่ 4 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง ม.1/2 เลขที่ 16 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ ม.1/2 เลขที่ 27 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว ม.1/2 เลขที่ 31 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา ม.1/2 เลขที่ 40

2 บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ ชื่อ-นามสกุล น้ำหนัก ส่วนสูง BMI ลุกนั่ง ดันพื้น อ่อนตัว วิ่ง ผลการประเมิน ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43 1.45 20.5 31 37 17 4.3 ดีมาก ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33 1.41 16.6 21 26 6 5.6 พอใช้ ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 1.42 18.3 29 8.5 5.4 ดี ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38 1.48 17.3 34 7 4.4 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57 1.61 22.0 41 27 3 3.1 จะเห็นได้ว่า ด.ญ.ธนิญา บุญแต่ง และ ด.ญ.ปานหทัย ศรีแก้ว ที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์สาเหตุอาจจะเกิดจากการบริโภคในปริมาณน้อยเกินไป ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 3 มื้อ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ สมาชิกคนอื่นๆ ที่มีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ ก็ควรดูแลตัวเอง บริโภคและออกกำลังกายมากขึ้น พักผ่อนให้เพียงพอเพื่อให้ร่ายกายเติบโตได้เต็มที่

3 การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย ควรใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์หรือทำกิจกรรมทีเหมาะสมกับวัย รวมถึงการออกกำลังกายและดูแลสุจภาพของตัวเองด้วย อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต เกลือแร่ และ วิตามิน

4 วิธีการดูแลน้ำหนักตัว
1. เลือกอาหาร โดยวัยนี้ร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมที่ลดลง จึงควรลดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพิ่มแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีอยู่ในนมถั่วเหลือง ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่าง ๆ และควรกินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนประเภทผัด ๆ ทอด ๆ จะช่วยลดปริมาณไขมันในอาหารได้ นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัด เค็มจัด และดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน 2. ออกกำลังกาย หากไม่มีโรคประจำตัว แนะนำให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิคสัก 30 นาทีต่อครั้ง ทำให้ได้สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง จะเกิดประโยชน์ต่อหัวใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขั้นตอนการออกกำลังกายจะต้องค่อย ๆ เริ่ม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อย ๆ เพิ่มความหนักขึ้น จนถึงระดับที่ต้องการ ทำอย่างต่อเนื่องจนถึงระยะเวลาที่ต้องการ จากนั้นค่อย ๆ ลดลงช้า ๆ และค่อย ๆ หยุดเพื่อให้ร่างกายและหัวใจได้ปรับตัว 3. สัมผัสอากาศที่บริสุทธิ์ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคได้ อาจเป็นสวนสาธารณะใกล้ ๆ สถานที่ท่องเที่ยว หรือการปรับภูมิทัศน์ภายในบ้านให้ปลอดโปร่ง สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก มีการปลูกต้นไม้ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้เหมาะสม เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค และสามารถช่วยป้องกันโรคภูมิแพ้ หรือหอบหืดได้ 4. หลีกเลี่ยงอบายมุข ได้แก่ บุหรี่และสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคหรือลดความรุนแรงของโรคได้ ทั้งลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และยังช่วยป้องกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่าง ๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมในขณะนี้ วิธีการดูแลน้ำหนักตัว การดูแลและควบคมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน                     การดูแลและควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทั้งทางร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ  หากวัยรุ่นมีน้ำหนักที่ไม่ได้มาตรฐานแล้ว  ย่อมส่งผลให้เกิดโลกต่างๆตามมา การควบคุมน้ำหนัก                          การควบคุมน้ำหนักเป็นวิธีการรักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่คงที่  ไม่อ้วนหรือผอมเกินไปจนต้องลดหรือเพิ่มน้ำหนัก  อีกทั้งยังเป็นวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง  เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค  ดังนั้นการควบคุมน้ำหนักให้คงที่และอยู่ในระดับที่เหมาะสม  จึงเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง  โดยเฉพาะวัยรุ่น  วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย การสร้างสมรถภาพทางกายแต่ละครั้ง ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ การอบอุ่นร่างกาย ( Warm Up ) โดยการวิ่งเบาๆและบริหาร ข้อต่อทุกส่วนเป็นเวลาประมาณ นาที ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสมรรถภาพทางกาย โดยในแต่ละครั้งให้ปฏิบัติครอบคลุมในทุกๆด้าน ได้แก่ ความอดทนของระบบการหมุนเวียน โลหิต ความอดทนและแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัว และใน 1 สัปดาห์ ควรทำการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายอย่างน้อย3 - 5 วัน โดยให้ปฏิบัติวันละ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง

5 ตารางเวลาการดำเนินกิจกรรม
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน ตารางเวลาการดำเนินกิจกรรม กิจกรรม วันที่ดำเนินกิจกรรม เก่งจังกินผักได้ 2/1/13 4/1/13 6/1/13 10/1/13 12/1/13 14/1/13 17/1/13 19/1/13 กินเท่าไหร่ใช้ให้หมด การออกกำลังกาย

6 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ผลการวัดน้ำหนักและส่วนสูง(ทุกวันจันทร์)
ชื่อ-นามสกุล 3/12/13 10/12/13 17/12/13 24/12/13 7/1/13 14/1/13 21/1/13 ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43/1.45 44/1.46 43/1.46 42/1.46 43/1.47 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33/1.43 32/1.44 33/1.44 34/1.44 34/1.45 35/1.46 34/1.46 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 37/1.42 36/1.42 36/1.43 37/1.43 39/1.43 38/1.43 38/1.44 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38/1.48 39/149 37/1.49 38/1.49 36/1.50 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57/1.64 59/1.64 58/1.65 581.66 59/1.66 60/1.67 ผลการทดความสมรรถภาพทางด้านร่างกายเทอม 1 และ เทอม2 ชื่อ-นามสกุล น้ำหนัก ส่วนสูง ลุกนั่ง ดันพื้น อ่อนตัว วิ่ง ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43/43 1.45/1.47 31 37/40 17 4.3/4.16 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33/34 1.41/1.46 21/23 26/28 6/1 5.6/5.54 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 37/38 1.42/1.44 29/28 33/32 8.5/8 5.41/5.43 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38/36 1.48/1.50 34/34 31/36 7/6 4.39/4.29 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57/60 1.61/1.67 41/44 27/28 3/6 3.1/3.05

7 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน
ผล สำเร็จบางส่วน ด.ญ.ธนิญา เพิ่มน้ำหนักตัวด้วยการกินอาหารครบทั้ง 5 หมู่ทำให้สามารถเพิ่มน้ำหนักตัวได้ ทำให้อยู่ในเกณฑ์มาตราฐานและ สมาชิกทุกคนมีผลการออกกำลังกายอยู่ในเกณฑ์ดีและมีการพัฒนามากขึ้น เนื่องจากมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 1. ทานมื้ออาหารระหว่างวันที่พลังงานสูง และดื่มนมหรือน้ำผลไม้วันละ 1 แก้ว ทุกวัน 2. ทานมื้ออาหารที่มีไขมันในอาหารมากขึ้น โดยเลือกอาหารที่มีไขมันสูง และรับประทานผัก ผลไม้ด้วย 3. ออกกำลังกายเป็นประจำ แต่ต้องไม่หักโหมเพราะจะทำให้ร่างกายยิ่งผอมโทรมขึ้น 4. เริ่มปฎิบัติตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 – 21 มกราคม 2556 5. ทำการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกวันจันทร์ 6. ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายของสมาชิกในกลุ่ม วันที่ 21 มกราคม 2556 7. นำข้อมูลทึ่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผลการเพิ่มน้ำหนักของสมาชิกในกลุ่ม


ดาวน์โหลด ppt กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google