ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตั้งการทำงานบนระบบ Network และการใช้งานขั้นสูง
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียน
ระบบอินเทอร์เนต สำหรับ User ไม่เกิน 1000 คน โดย นางสาวสายสุณี สังข์ทอง คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชา ฟิสิกส์ รหัสนิสิต
การแก้ปัญหาของการรับและการเชื่อมต่อ ของระบบเครือข่าย
Northern ThaiSarn Internet Consortium ชมรมไทยสารอินเทอร์เน็ตภาคเหนือ
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
บทที่ 11 การเข้าถึงข้อมูลและระบบปฎิบัติการต่างๆ
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
ซอฟต์แวร์.
การใช้งานคอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
การออกแบบระบบอินเตอร์เน็ต ในโรงเรียน สำหรับผู้ใช้มากกว่า 1,000 คน
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
การออกแบบระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน
ระบบอินเทอร์เน็ตสำหรับ user ตั้งแต่ 1000 ขึ้นไป
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับ User ไม่เกิน 1000 คน อุปกรณ์และหน้าที่ต่างๆ
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
Internet For School การทำงาน 1.Rounter เชื่อมต่ออินเทอร์เนต์ไปยัง ISP 2.ISP หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เนตจะตรวจ check ว่าโรงเรียนท่านเป็นสมาชิกหรือไม่ถ้าเป็นก็ทำการเชื่อมต่ออินเทอร์เนต.
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ตสำหรับโรงเรียน
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับ User ไม่เกิน 1,000 คน
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับผู้ใช้ ไม่เกิน 1000 คน ออกแบบโดย นางสาวภัคคินี ศรีนวล รหัสประจำตัวนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์
Internet For School จำนวนผู้ใช้ไม่เกิน 1,000 คน
FAQ – ส่วน Dial-Up – ส่วนการเรียกข้อมูลจาก Browser Support – การสร้าง Web page เบื้องต้น – การโอนแฟ้มข้อมูล – แก้ปัญหาการแสดงผล Web page FAQ And Support.
โครงการอาสาสมัคร ดร. ดนัย มิลินทวณิช
:-> ติดตั้ง Dial-up Networking
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเข้าสู่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ผ่านเลขหมายเครือข่ายกาญจนาภิเษก ๑๕๐๙ โดย นาย ทวีศักดิ์ ชัยรัตนายุทธ์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ Internet , Intranet สรส. จากคณะกรรมการพัฒนาระบบ LAN สรส
ควรมีอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ลำโพง , หูฟัง เนื่องจากมีการบรรยายประกอบสไลด์
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
Internet, & Network โดย ศน.ไพฑูรย์ ปลอดอ่อนและ อ.ศรชัย เกษมสุข.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
กระบวนการบริหารจัดการระบบงานสารสนเทศ
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
13 October 2007
13 October 2007
13 October 2007
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
Software ซอฟต์แวร์.
Internet Service Privider
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Virtualization and CentOS Installation
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
OS Network. Network Operating System, NOS Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows NT 2003 Server AppleShare Unix Linux.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Linux Internet Server ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์

LINUX-SIS Linux-SIS คืออะไร การใช้งาน Linux-SIS เป็น Internet Server การใช้งาน Linux-SIS เป็น Desktop Linux ในเมืองไทย Internet Server แบบอื่นๆ

Linux-SIS คืออะไร Linux-SIS (Linux SchoolNet Internet Server) คือชุดของซอฟต์แวร์ linux และ ส่วนเพิ่มเติมอื่นๆ ซึ่งพัฒนาและรวบรวมโดยห้องปฏิบัติ การเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Technology Laboratory, NTL) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center, NECTEC) เป็นชุดซอฟต์แวร์เมื่อใช้กับฮาร์ดแวร์ที่ เหมาะสมแล้วจะสามารถทำหน้าที่ เป็น Internet Server โดยมีเป้าหมายหลักสำหรับ โรงเรียนที่จะเชื่อมต่อเข้ากับ เครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย (SchoolNet Thailand) รวมถึงใช้งาน Internet Application เช่น e-mail และ www ต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์แบบ

Linux-SIS ต่างจากซอฟต์แวร์ Linux ธรรมดาอย่างไร? Linux-SIS ประกอบด้วย Linux พื้นฐานจาก Slackware Distribution และซอฟต์แวร์เพิ่มเติมอื่นๆ (ได้แก่ซอฟต์แวร์ของ GNU ต่างๆ และ ซอฟต์แวร์ที่ ห้องปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์พัฒนาขึ้นเอง) ซึ่งทำ การตั้งค่าระบบทุกอย่างเกือบ เสร็จหมดแล้ว ใช้เวลาในการติดตั้งเพียง เล็กน้อย ก็สามารถใช้งานได้เลย ไม่จำเป็นต้องทำการติดตั้งโปรแกรม Linux อย่างละเอียด (ซึ่งค่อนข้างยุ่งยาก สำหรับผู้ใช้เริ่มต้น)

การใช้งาน Linux-SIS เป็น Internet Server ทำหน้าเป็น Internet Server (Web Server, Mail Server, FTP server, Database Server และ DNS Server) ได้อย่างมีเสถียรภาพ สามารถใช้เป็น Proxy Gateway เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial-up (หมุน โทรศัพท์) และให้เครื่อง PC 3-4 เครื่อง สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตพร้อมกัน ได้ พร้อมระบบ Proxy/Cache Server เพิ่มความเร็วในการใช้งาน พร้อมสำหรับ เชื่อมต่อ กับเครือข่าย SchoolNet และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วไป ทำหน้าที่เป็น Cache/Proxy Server สมบูรณ์แบบ สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ใช้เข้าไป ดู Web Site ที่ไม่เหมาะสมได้ พร้อมระบบอัตโนมัติ Transparent Proxy ผู้ใช้ไม่ ต้องติดตั้งค่าที่ Web Browser ยุ่งยาก

การใช้งาน Linux-SIS เป็น Internet Server (2) สามารถทำหน้าที่เป็น Router ในกรณีที่โรงเรียนมีเครือข่ายภายในหลายส่วน ไม่จำเป็นต้องซื้อ Router ราคาแพง สามารถทำหน้าที่เป็น Gateway Router ในกรณีที่โรงเรียนเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตแบบ Asynchronous ด้วยความเร็วถึง 115,200 bps (bit per second) โดยสามารถต่อได้กับ Leased line modem หรือ modem ธรรมดา โดย สามารถกำหนดให้หมุนโทรศัพท์และหมุนใหม่เมื่อสายหลุดได้ ระบบซอฟต์แวร์ด้าน Desktop และภาษาไทย (ขั้นทดลอง)

การใช้งาน Linux-SIS เป็น Desktop ใช้งานได้ในระดับปานกลาง สามารถใช้งานภาษาไทยบน Desktop ได้ Office Application ยังไม่สนับสนุนภาษาไทย เหมาะสำหรับการใช้งานเป็น Internet workstation (Web brower , Email, FTP)

Linux-SIS 3.0 Screen Shot

Linux ในเมืองไทย มีการรวมกลุ่มกันของผู้ใช้งาน Linux มี web board ---> www.thainet.org , linux.thai.net มี mailing list ---> linux-sis@nectec.or.th , tlug@cpe.ku.ac.th มี News group ---> th.pubnet.linux Thai Linux user group home page http://linux.thai.net

Internet Server แบบอื่น Windows NT Server Microsoft proxy server,Wingate Internet Information Server (IIS) Microsoft Frontpage Novell Netware Groupwise ,Border Manager etc...

ขอบคุณครับ