การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
สรุป H.W. Wilson โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Online Online การสืบค้นข้อมูล.
ฐานข้อมูลสิทธิบัตรทั่วโลก (ไทย)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
โครงการ การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ จังหวัดชายแดนใต้ Knowledge for Deep South (K4DS) สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (EU) และสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรม.
1 ProQuest Nursing & Allied Health Source โดย ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
อบรม โปรแกรมระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
Work From Anywhere To University
ภวัต เรืองยิ่ง แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล
1 ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส แก้ไขครั้งล่าสุด 11 May 2009.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
World Wide Web WWW.
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
Use Case Diagram.
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Search Engine.
Jatuphum Juanchaiyaphum
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
เทคนิคการสืบค้น Google
ProQuest Nursing & Allied Health Source
E-News For Modern Life งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการ ทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
E-Sarabun.
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
อินเทอร์เน็ต.
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
EbscoHost & NetLibrary เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมงานวิชาการจากทั่วโลก ซึ่งมี full text มากกว่า 5,990 รายชื่อ รวมทั้งวารสารที่เป็น peer reviews อีกกว่า 5,030.
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ProQuest Dissertations & Theses.
E-Portfolio.
แผนการจัดการเรียนรู้
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ข้อมูลที่จะถูกสืบค้นได้ในอินเทอร์เน็ต อาจอยู่ในรูปแบบของ Web Pages Directories Index สืบค้นโดยใช้ Search Engine สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

โปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ใช้สำหรับการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต มักจะเป็น Web-base Applications มีหลากหลายโปรแกรม มีคุณสมบัติและความสามารถที่แตกต่างกัน มีการออกแบบเพื่อกิจกรรมเฉพาะอย่าง สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่าง Search Engine เว็บไซท์ http://www.altavista.com/ http://www.yahoo.com/ http://www.google.com/ http://www.sansarn.com/ http://campus.acm.org/public/search/search.cfm สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

วิธีการใช้งาน Search Engine โดยทั่วไปแล้ว Search Engine สามารถทำงานแบบ Basic/Simple Search ได้เสมอ สำหรับการค้นหาแบบเฉพาะเจาะจง หรือ Advanced Search จะได้ผลตรงตามต้องการมากกว่า แต่ละ Search Engine จะมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

รูปแบบต่างๆ ของ Advanced Search การค้นหาแบบบูล (Boolean Search) การค้นหาแบบระบุคุณสมบัติ เช่น anchor: near: applet: host: image: link: text: title: url: domain: สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความสำคัญของ Keyword หมายถึง คำ หรือ ข้อความ ที่ต้องการให้ Search Engine ค้นหา นอกจาก Keyword แล้ว อาจจะต้องส่งสัญลักษณ์ หรือคำสั่งอื่น เพื่อให้ Search Engine ทำงานตรงตามความต้องการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (1) ค้นหาโดยใช้ คำ หรือ วลี ทั่วไป เช่น มหาวิทยาลัย บูรพา ผลที่ได้จากการสืบค้น จะได้ เว็บเพจ ที่มีคำว่า มหาวิทยาลัย หรือ บูรพา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (2) การใช้เครื่องหมายคำพูด “….” เข้าช่วย เช่น “linux thai” ผลที่ได้จะได้ เว็บ เพจ ที่มีคำว่า linux และ thai ซึ่งอาจเป็น thailinux หรือ Thai Linux หรือ Linux Thai หรือ อื่นๆ ในทำนองนี้ก็ได้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (3) การค้นหาโดยการใช้เครื่องหมาย * ต่อท้าย Keyword เช่น Bang* ผลที่ได้จะได้ เว็บ เพจ ที่มีคำว่า Bang หรือ มี Bang เป็นส่วนประกอบของคำ เช่น Bang’s หรือ Bang! เป็นต้น สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หลักการวิธีการของ Boolean Searching สามารถพิจารณาได้ จากการพิจารณาผลของ and หรือ or หรือ and not อาจมีการใช้ operator อื่น เช่น near, w/s, w/p, w/# หรือ proximity search operator อื่นๆ อาจมีการใช้เครื่องหมาย ( )ในลักษณะของ parentheses “Nesting” สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่างการใช้ Boolean Search (1) ใช้เครื่องหมาย + แทน and และ - แทน not เช่น +buraphalinux -burapha ผลที่ได้จะได้เว็บเพจ ที่มีคำว่า buraphalinux แต่ไม่มีคำว่า burapha ทดสอบได้ที่ www.altavista.com สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ตัวอย่างการใช้ Boolean Search (2) ใช้เครื่องหมายวงเล็บ เข้าช่วย เช่น ("burapha university") and (bangsaen) ผลที่ได้จะได้เว็บเพจ ที่มีคำว่า “Burapha University” และ Bangsaen หรืออื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การค้นหาโดยระบุคุณสมบัติ (1) ระบุ anchor: anchor: burapha จะได้เว็บเพจ ที่มี burapha เป็น anchor ระบุ applet: applet:balls จะได้เว็บเพจ ที่มี Java Applet ชื่อ balls ทดสอบได้ที่ www.altavista.com สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การค้นหาโดยระบุคุณสมบัติ (2) ระบุ host: host: www.buraphalinux.org จะได้ directories index ของ host ที่ระบุ ระบุ link: link: www.buu.ac.th จะได้เว็บเพจที่มี link ตามกำหนด ทดสอบได้ที่ www.altavista.com สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา www.google.com เป็นเว็บไซท์ที่มีผู้นิยมมาก ทั่วโลก มีเครื่องแม่ข่ายกระจายไปทั่วโลก หลายภาษา เช่น www.google.co.th มีโปรแกรมคอย update ฐานข้อมูลของตนเองโดยอัตโนมัติตลอดเวลา ทำ Basic/Simple Search ได้ดี สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา www.yahoo.com มีผู้นิยมใช้มาก ทั่วโลก มีบริการเว็บเสริมมากมาย มีการจัด Web Site Directories เรียงตาม Subjects ที่เหมาะสมต่อการใช้งาน มีเครื่องแม่ข่ายกระจายไปตามภูมิภาคทั่วโลก สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา www.altavista.com มีชื่อเสียงในเรื่องความสามารถในการทำ Advanced Search ลักษณะต่างๆ โปรแกรม search engine ของ altavista ถูกนำไปใช้โดย เว็บไซท์ต่างๆ หลายแห่ง สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา http://www.acm.org/search/ เป็นเว็บเพจ ที่ใช้สำหรับการค้นหาเอกสาร บทความทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ ข้อมูลบางส่วนเป็นบริการทั่วไปแบบสาธารณะ ข้อมูลในรายละเอียดมีไว้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น สมาชิกจะต้องเสียค่าบริการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา www.sansarn.com Search Engine สำหรับภาษาไทย Search Engine อื่นๆที่มีคุณภาพสูง ยังไม่สามารถทำงานได้ดีกับภาษาไทย “สรรสาร” เป็นโปรแกรมสืบค้นข้อมูล ภาษาไทย พัฒนาโดย NECTEC สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

โครงสร้างของโปรแกรมสรรสาร ส่วนจัดเตรียมข้อมูล (Data Preparation Servers) ส่วนจัดเก็บฐานข้อมูล (Database Servers) ส่วนค้นหาข้อมูล (Search Engine Servers) สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ส่วนจัดเตรียมข้อมูล Data Preparation Servers เป็นส่วนที่ทำหน้าที่นำข้อมูลเข้าระบบ โดยผู้บริหารระบบ ข้อมูลที่ถูกนำเข้าอยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น text, HTML, PDF, doc เป็นต้น มีการสร้าง index ซึ่งจะได้ index files เพื่อใช้ในการค้นหา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ส่วนจัดเก็บฐานข้อมูล Database Servers ใช้ทำหน้าที่ในการเก็บ files ข้อมูล ใช้ทำหน้าที่ในการเก็บ index files ที่ระบบสร้างขึ้น สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ส่วนค้นหาข้อมูล Search Engine Servers รับ keyword และคำสั่งจากผู้ใช้ ทำหน้าที่ในการค้นหา จัดลำดับ เอกสารที่ค้นพบ ในฐานข้อมูล คืนสู่ผู้ใช้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การสืบค้นข้อมูลทางวิชาการจากอินเทอร์เน็ต ระบุปัญหาให้ชัดเจน เลือกแหล่งข้อมูลที่จะค้นหา เลือกคำที่จะใช้ค้นหา ดำเนินการค้นหา พิมพ์เอกสารที่ค้นหา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระบุปัญหาให้ชัดเจน ผู้สืบค้นจะต้องกำหนดปัญหา ที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจนเสียก่อน พิจารณาว่าสิ่งที่เราต้องการศึกษานั้นคืออะไร ควรจะเป็นปัญหาเฉพาะ ไม่กว้างจนเกินไป พิจารณากำหนด Keywords ที่จะใช้ในการค้นหา ให้ครบถ้วนรอบคอบ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เลือกแหล่งข้อมูลที่จะค้นหา ในที่นี้หมายถึง เว็บไซท์ที่จะทำการสืบค้น พิจารณาเว็บไซท์ ที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อหาข้อมูลที่ต้องการค้นหาที่สามารถเข้าถึงได้ก่อน ใช้เว็บไซท์ที่สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้จำนวนมากกว่า พิจารณาความสามารถด้านภาษาของ Search Engine ด้วย สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เลือกคำที่จะใช้ค้นหา เลือกใช้ คำ หรือ คำพ้อง ทั้งนี้ต้องพิจารณา ความสามารถของ Search Engine ประกอบการเลือกคำด้วย พยายามใช้หลักตรรกวิทยา ในการกำหนดคำ วลี หรือ คำพ้อง ที่จะใช้เป็น Keywords สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ดำเนินการค้นหา ป้อน Keyword(s) และคำสั่ง ลงในช่องที่กำหนด แล้วสั่ง Search ในกรณีที่เว็บไซท์มี Directory Subjects บริการ ก็สามารถที่จะติดตาม link เหล่านั้น จนกว่าจะพบข้อมูลที่ต้องการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พิมพ์เอกสารที่ค้นหา เพื่อรวบรวมเว็บเพจ ที่ค้นหามาได้ ไว้อ้างอิงต่อไป สามารถทำได้ 2 แนวทางคือ พิมพ์เอกสารลงกระดาษ ทำการบันทึก วันเวลา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ เก็บ file(s) ลง disk หรือ floopy disk พร้อมบันทึกข้อมูลวันเวลาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา แหล่งข้อมูลอ้างอิง http://www.sansarn.com/ http://www.yahoo.com/ http://www.altavista.com/ http://www.acm.org/ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ขอบคุณครับ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา