โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
สรุปผลการดำเนินงานของ คณะทำงานฝ่ายวารสารและเอกสาร
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โดย นางสาวตรึงตา แหลมสมุทร
Graduate School Khon Kaen University
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การจัดการบริการสารสนเทศ
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
Seminar in Information Technology II
ปตท. สร้างแรงบันดาลใจสู่โอลิมปิก
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
วิชา สัมมนาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ Seminar in Computer Information System รหัส หน่วยกิต.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
ขั้นตอนที่ 5(การนำเสนอแฟ้มผลงาน) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง
รายวิชา GEL1101 การใช้ภาษาไทย ช่วงที่ 1 นำเสนอโครงงาน
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ประชุมชี้แจงรายละเอียด โครงการพัฒนาปรับปรุงงานของสำนักงานอธิการบดี
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
โครงการรณรงค์ให้นักศึกษา แต่งกายถูกระเบียบ
ฐานข้อมูล Data Base.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
แผนผังบุคลากรงานบริหารงานทั่วไป
เริ่มตั้งแต่ ปี 2547 โดยการจัดอบรมให้ความรู้ด้านการ ประกันภัยแก่ผู้บริหารเขต พื้นที่ การศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู - อาจารย์ ทั่วประเทศ ปี 2552 – ปัจจุบัน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การพูดโต้วาที เป็นการพูดแบบชักจูง และเป็นการอภิปรายที่จะต้องมีการโต้แย้งกันด้วยเหตุผล เพื่อตัดสินว่าจะยอมรับญัตตินั้นหรือไม่
โครงการ พัฒนางาน 5 ส ภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่ง ความสุข.
โปรแกรมบริหารจัดการการให้ทุน จัดทำโครงการวิทยาศาสตร์ระดับโรงเรียน 28 เม. ย โดย ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์ ห้องปฏิบัติการวิจัยบูรพาลีนุกซ์ ภาควิชาวิทยาการสารสนเทศ.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี นางสุภารักษ์ เมินกระโทก นางสาวธันยกานต์ สินปรุ นายชัยสิทธิ์ เปล่งวุฒิไกร นายจักรี รังคะวัต ฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ที่มาและความสำคัญ ห้องสมุด ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการรู้และการใช้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการห้องสมุด โดยเฉพาะนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี ห้องสมุดจึงมีวิธีการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ การอบรมการใช้ห้องสมุดป้ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ได้เห็นประโยชน์จากการโต้วาที ซึ่งเป็นการโต้คารมในญัตติที่กำหนดมีฝ่ายค้านและฝ่ายเสนอ มาประยุกต์ใช้ในการประชาสัมพันธ์บริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศและสิ่งอำนวยความสะดวกของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา โดยมีนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรที่เข้ามาร่วมทำกิจกรรมนี้

วัตถุประสงค์ เพื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดเตรียมไว้ เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้แสดงความสามารถและพัฒนาทักษะการพูด ผ่านการเรียนรู้และใช้บริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา เพื่อสร้างความสามัคคีในกลุ่มนักศึกษาใหม่

ขั้นตอนการดำเนินการ ขออนุมัติโครงการและขออนุมัติค่าใช้จ่ายจากงบประมาณที่ตั้งไว้ ขออนุญาตสลักนามอธิการบดีบนถ้วยรางวัลชนะเลิศการแข่งขันโต้วาที กำหนดญัตติ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม วัน เวลา และสถานที่แข่งขัน กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน และกรรมการตัดสิน เชิญชวนสำนักวิชาส่งนักศึกษาใหม่เข้าร่วมกิจกรรม สำนักวิชาละไม่เกิน 2 ทีม ประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านเว็บไซต์ โปสเตอร์ ป้ายประชาสัมพันธ์อิเล็กทรอนิกส์ email / facebook บันทึกเชิญกรรมการตัดสิน ระยะเวลาการดำเนินโครงการ : ภาคการศึกษาที่ 1 ระหว่างเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ของทุกปี ดำเนินกิจกรรม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินกิจกรรม

วิธีดำเนินการ รายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน การแข่งขันแบ่งเป็น 2 รอบ รอบที่ 1 ผู้เข้าแข่งขันทุกทีม รายงานตัวพร้อมจับฉลากคู่แข่งขัน ในญัตติ “ใช้บริการศูนย์บรรณสารฯ ฟรี ดีกว่าจ่ายตังค์” รอบที่ 2 ทีมชนะที่ 1, 2 และ 3 จากรอบที่ 1 แข่งขันประเภทพบกันหมด จับฉลากญัตติการแข่งขันโต้วาที ประกอบด้วยญัตติ “ท่องอินเทอร์เด็ดกว่าท่องห้องสมุด” “อ่านหนังสือหรือจะสู้ eBook” “การพูดที่ว่าแน่ ก็ยังแพ้การเขียน”

สถานที่ทำการแข่งขัน ณ ห้องบรรณสารสาธิต อาคารบรรณสาร ชั้น 4 เวลา กำหนดให้แต่ละทีมบริหารเวลาภายในเวลา 11  นาที 1) หัวหน้าทีมพูดในช่วงเวลา 4 นาที 2) ลูกทีม / ผู้สนับสนุนพูดคนละ 3 นาที 3) หัวหน้าทีมพูดสรุปไม่เกิน 4 นาที สถานที่ทำการแข่งขัน ณ ห้องบรรณสารสาธิต อาคารบรรณสาร ชั้น 4

เกณฑ์การให้คะแนน  100   คะแนน 1) พูดตามประเด็น 20 คะแนน 2) เสนอเหตุผลข้อเท็จจริงอ้างอิงได้เหมาะสมถูกต้อง 20   คะแนน 3) หักล้างข้อเสนอของฝ่ายตรงข้ามได้ชัดเจน  15  คะแนน 4) ลีลาน้ำเสียง ท่าทาง  15 คะแนน 5) วิธีการพูดโน้มน้าว 15  คะแนน 6) การแปรญัตติ 5  คะแนน 7) มารยาทในการพูด 5  คะแนน 8) ตรงตามเวลาที่กำหนด 5  คะแนน

เกณฑ์การตัดสินและรางวัล 1) ทีมที่มีคะแนนสูงสุด รับรางวัลชนะเลิศโล่จากอธิการบดี ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 2) ทีมที่มีคะแนนรอง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 3) ทีมที่มีคะแนนรองอันดับสอง ได้รับรางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 1,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 4) รางวัลกองเชียร์ดีเด่น ได้รับของที่ระลึกและของรางวัล จากศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา

คณะกรรมการการแข่งขัน  จำนวน  3 ท่าน ประกอบด้วย 1) ดร.นฤมล รักษาสุข รองอธิการบดีฝ่ายกิจการสภามหาวทิยาลัย และอาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สารสนเทศศึกษา) 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หนึ่งหทัย ขอผลกลาง อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ (นิเทศศาสตร์) 3) นางสุภารักษ์ เมินกระโทก บรรณารักษ์ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา

ผลการดำเนินการและการประเมินผล กราฟที่ 1 แสดงจำนวนนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่

กราฟที่ 2 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่ ปี 2555 และ 2556

ประโยชน์และคุณค่า ต่อการนำไปปรับใช้ในงานห้องสมุด ได้ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้ห้องสมุด ให้กับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี เป็นวิธีการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดอีกวิธีหนึ่ง ที่บรรณารักษ์ไม่ต้องไปแนะนำผู้ใช้บิรการด้วย ตนเอง โดยให้นักศึกษาด้วยกันเป็นคนบอกกันเอง สร้างความสามัคคีในกลุ่มนักศึกษาใหม่ เนื่องจากการแข่งขันแบบทีม มีตัวแทนจากสำนักวิชา ทำให้เพื่อนๆ มาชมและเป็นกองเชียร์ และบางสำนักวิชาอาจารย์ประจำสำนักวิชามาร่วม กิจกรรมด้วยทำให้นักศึกษารู้สึกว่าเป็นกิจกรรมสำคัญของสำนักวิชาอีกกิจกรรมหนึ่ง

ด้านผู้ฟัง คือการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาโดยนักศึกษาให้นักศึกษาฟัง ญัตติของการโต้วาทีที่กำหนดไว้ซึ่งเป็นญัตติที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดทั้งสิ้น ข้อมูลสำหรับการสนับสนุนหรือคัดค้านญัตติดังกล่าว นักศึกษาต้องมาศึกษาค้นคว้าจาก ห้องสมุด เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปคัดค้านหรือสนับสนุนญัตติดังกล่าว ทำให้นักศึกษาเกิดทักษะ การค้นหาสารสนเทศ ได้รู้จักบริการต่างๆ ของห้องสมุด เกิดความสัมพันธ์อันนดีระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรของห้องสมุด ผู้ใช้บริการ มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของห้องสมุด ช่วยทำให้การดำเนินกิจกรรมของห้องสมุด บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

ภาพกิจกรรม