การจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทางวิชาการ 27 ตุลาคม 2551 การนำเสนอ : การเยี่ยมสำรวจภายใน ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล การจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทางวิชาการ 27 ตุลาคม 2551
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล วิสัยทัศน์ เป็นสถาบันทางการแพทย์ของแผ่นดิน มุ่งสู่ความเป็นเลิศระดับสากล พันธกิจ จัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิต บุคลากรทางการแพทย์ทุกระดับ ทำการวิจัยสร้างบรรยากาศทางวิชาการ ให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ คุณธรรม ทันสมัย ได้มาตรฐานสากล สอดคล้องความต้องการของประเทศ นำมาซึ่งศรัทธาและความนิยมสูงสุดจากประชาชน รวมทั้งชี้นำสังคมไทยในด้านสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิต
วิสัยทัศน์และพันธกิจ ภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาชีวเคมี เป็นผู้นำทางวิชาการและการวิจัยด้านชีวเคมีทางการแพทย์ และชีวเคมีระดับโมเลกุล มุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ทันสมัย และการวิจัยที่ได้มาตรฐานสากล พันธกิจ ภาควิชาชีวเคมี มีพันธกิจในการผลิตบัณฑิต ทำการวิจัย และให้บริการทางวิชาการอย่างมีคุณภาพ และทันสมัยได้มาตรฐานสากล
จุดเน้นภาควิชาชีวเคมี การปรับปรุงหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาตรี ดำเนินการให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และนโยบาย ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนกับหน่วยงานอื่นๆ การพัฒนาหลักสูตรด้านการเรียนการสอน การพัฒนาด้านการวิจัย การพัฒนางานบริการทางวิชาการ
การพัฒนาคุณภาพงาน ภาควิชาชีวเคมี วัตถุประสงค์ : เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาควิชา เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพด้านบริหารจัดการของภาควิชา สู่ระดับสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของภาควิชา
บุคลากรภาควิชาชีวเคมี *อาจารย์แพทย์ 15 คน ทำงานเต็มเวลา 8 คน
โครงสร้างพื้นฐานของภาควิชาชีวเคมี การจัดพื้นที่ให้เหมาะสม สำนักงาน ชั้น 13 ห้องปฏิบัติการ ชั้น 3 ที่เหมาะสมตาม area of excellence ห้องปฏิบัติการชีวเคมีระดับโมเลกุล ไมโตคอนเดรีย ธาลัสซีเมีย ห้องเลี้ยงเซลล์, stem cell ห้องเครื่องมือกลาง
ความปลอดภัย: การป้องกัน และลดความเสี่ยง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบด้านต่างๆ การกำจัดสารเคมี การป้องกันการติดเชื้อ การกำจัดขยะ การสอบเทียบเครื่องมือ เจ้าหน้าที่ทุกคนได้ผ่านการอบรมด้านความปลอดภัย มีการทบทวนการป้องกันและบริหารความเสี่ยง
การทบทวนตัวชี้วัด
ด้านการศึกษา นักศึกษาบัณฑิต : สำเร็จการศึกษาตามแผน วิทยานิพนธ์/งานวิจัยมีคุณภาพ มีทักษะในการทำวิจัยเป็นอย่างดี เพิ่มสัดส่วนนักศึกษาปริญญาโทที่จบการศึกษาภายใน 3 ปี และนักศึกษาปริญญาเอกที่จบการศึกษาภายใน 5 ปี เท่ากับ 75 % เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างประเทศ (ปัจจุบัน 20 %) ระดับปริญญาตรี : มีความรู้ที่ทันสมัย เพียงพอ เหมาะสม และสามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานต่อไปทางคลินิก สอบผ่านตามเกณฑ์ประเมินของภาควิชา 100 %
ด้านการวิจัย มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสากลได้รับการตีพิมพ์ งานวิจัยสามารถดำเนินการได้ตามแผน/โครงการ สามารถนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์ทางวิชาการได้ เพิ่มอัตราส่วนของทุนวิจัยที่ได้รับจากภายนอกคณะฯ : ทุนในคณะฯ จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารที่มี impact factor ปีละ 4 เรื่อง จำนวนครั้งการสัมมนาทางวิชาการ 1 ครั้งต่อเดือน
เพิ่มอัตราส่วนทุนวิจัยที่ได้รับจากภายนอกคณะฯ : ภายในคณะฯ ปี 2551
จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี
การพัฒนาด้านการเรียนการสอนหลังปริญญา ภาควิชาฯ มีการจัดงานปัจฉิมนิเทศ เพื่อแสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ และอบรมในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
การพัฒนาด้านการวิจัย ภาควิชาฯ มีความร่วมมือในการวิจัยกับสถาบันต่างๆ
ความร่วมมือในการวิจัยกับสถาบันต่างๆ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Eijkman Institute for Molecular Biology , Indonesia St Vincent's Hospital, Australia Institut Pasteur, Paris Memorial Sloan-Kettering Cancer center (MSKCC), New York University of North Carolina at Greensboro
การพัฒนางานบริการวิชาการ ภาควิชาฯ ได้ให้บริการวิชาการในรูปแบบของ การสนับสนุนการเรียนการสอน ดังนี้ การเป็นวิทยากรบรรยาย โดยบุคลากรของภาควิชาฯ ได้รับเชิญจากหน่วยงานของรัฐและเอกชน ภาควิชาฯ ให้ความร่วมมือในด้านการเรียนการสอนกับคณะ / หน่วยงานต่าง ๆ
การประกันคุณภาพการศึกษาในรอบ 1 ปี จุดเด่น มีหลักสูตรนานาชาติ(โท,เอก) ที่ไดรับความนิยมจากประเทศแถบเอเชีย เช่น ศรีลังกา อินโดนีเซีย พม่า ซึ่งจำนวนนักศึกษาต่างชาติเข้ามา ศึกษา 20 % ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมดและมีการทบทวนหลักสูตรอย่างสมํ่าเสมอทุก 2 ปี มีระบบสารสนเทศสนับสนุนการทำงานต่างๆ ได้แก่ ระบบธุรการ web board สำหรับการสื่อสารกับนักศึกษา เครื่องมือครุภัณฑ์ website ของภาควิชา มีการวิจัยพื้นฐานที่มีการพัฒนาไปสู่การวิจัยเชิงลึก มีทุนสนับสนุนการวิจัยสูง ปี 2550 จำนวน 11 ล้านบาท (อาจารย์-นักศึกษาบัณฑิต) มีการบริหารจัดการภาระงานของภาควิชาที่ชัดเจน ได้แก่ ตัดงานบริการออกจากภาระงานของภาควิชา โอกาสพัฒนา การ benchmark ระดับชาติและนานาชาติ
ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา... ตัดงานบริการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั้งหมด ออกจากภาระงานของภาควิชาชีวเคมี ตั้งแต่ 1 กันยายน 2550 โครงการติดดาว ประจำปี 2550 นวัตกรรมเรื่อง A Simple Method of Formaldehyde Waste Product Inactivation Before Disposal ประกาศเมื่อเมษายน 2551
ผลงาน: ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว การปรับปรุงหลักสูตรปริญญาโท-เอก สาขาชีวเคมี (หลักสูตรนานาชาติ ) 2550 การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสำนักงานภาควิชา ด้วย internet
ผลงาน: ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ โครงการเพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างประเทศ การพัฒนาการประเมินผลการสอนโดยนศพ. ชั้นปีที่ 2 การพัฒนา website ภาควิชาชีวเคมี การเพิ่มงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มี impact factor
การพัฒนาห้องปฏิบัติการ
Central facility จะนำเอาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำวิจัยที่มีราคาแพงและสามารถใช้ร่วมกัน เพื่อการใช้ประโยชน์เครื่องมืออย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำวิจัย
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการควบคุมครุภัณฑ์ของภาควิชา เป็นการสร้างฐานข้อมูลของเครื่องมือ สามารถนำขึ้นสู่ระบบ internet ได้ การดูแลเครื่องมือจะทำโดยนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย มีการสืบค้นได้ง่ายจากคอมพิวเตอร์ มีการเชื่อมโยงกับประวัติการจัดซื้อจัดจ้างและบำรุงรักษา มีการเชื่อมโยงกับคู่มือการใช้ที่เป็น electronic files update ปีละ 1 ครั้ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการควบคุมครุภัณฑ์ของภาควิชาฯ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สำนักงานภาควิชา จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ
ปฏิบัติตามขั้นตอน/ระเบียบและ วิธีปฏิบัติงานของเรื่องนั้นๆ 1.ความปลอดภัย (Safety) 1.1 ด้านเอกสาร กระบวนการหลักของสำนักงานภาควิชาชีวเคมี รับงาน รับ/ตรวจสอบ/จำแนก/ ส่งต่อ เพื่อดำเนินการ งานสารบรรณ งานสารสนเทศ งานบุคคล งานการเงิน/ งบประมาณ งานพัสดุ งานบริการการศึกษา งานอาคารสถานที่ งานบำรุงรักษาวัสดุและ ครุภัณฑ์ งานบริการทั่วไป 2. ดำเนินการ ปฏิบัติตามขั้นตอน/ระเบียบและ วิธีปฏิบัติงานของเรื่องนั้นๆ 3. ส่งมอบ/จำหน่าย มอบ/นำส่งผลงาน จัดเก็บ 4. กำกับ/ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ ประสานงาน
ด้านงานสารบรรณ การรับ - การส่งเอกสารของภาควิชา การรับ - การส่งเอกสาร ระบบ IT Si-Net โดยผ่านโปรแกรม Lotus Notes
ด้านงานสารบรรณ - รับเอกสาร ดำเนินการรับเอกสารด้วยระบบ IT Si-Net โดยผ่านโปรแกรม Lotus Notes พร้อมกับ scan เอกสารเป็น PDF แนบกับเรื่อง เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูล วิธีลงทะเบียนรับ
ด้านงานสารบรรณ - ส่งเอกสาร วิธีลงทะเบียนส่ง
ด้านงานสารบรรณ รับ - ส่งเอกสาร พัฒนาการจัดเก็บแฟ้มเอกสารภายในสำนักงานภาควิชาฯ โดยใช้สีเป็นตัวแบ่งหมวดหมู่ เพื่อให้เกิดความสะดวก ง่ายต่อการค้นหาเอกสาร
1.ความปลอดภัย (Safety) 1.2 ด้านทรัพย์สิน มีการติดตั้งระบบ key card ในการเข้ามาในส่วนของสำนักงานชั้น 13 และห้องปฏิบัติการ ชั้น 3 ได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิดทางเข้าชั้น 3 และ 13 1.3 ด้านการทำงาน ได้ติดตั้งเครื่องถ่ายเอกสารไว้บริเวณทางเดิน เนื่องจากมีอากาศถ่ายเทได้
2. ความเป็นเลิศ (Area of excellence) 2.1 สนับสนุนการดำเนินการของคณะฯ ได้นำการใช้ปฎิทินในระบบ Si-net มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการทำงาน โดยการบันทึกกิจกรรมต่างๆ ซึ่งสามารถใช้เตือนและสืบค้นข้อมูลได้
2. ความเป็นเลิศ (Area of excellence) 2.2 จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ได้แก่ คู่มือการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ SAP, คู่มือการเบิกวัสดุในระบบ SAP, คู่มือการลาประเภทต่างๆ พร้อมตัวอย่าง, คู่มือการขออนุมัติและเบิกค่าตอบแทน, คู่มือการรับ - ส่งเอกสารระบบ IT 2.3 มีการนำหนังสือเวียนของคณะในระบบ Si-net มาประกาศใน web page ของภาควิชาเป็นการประหยัดกระดาษในการเวียนแจ้งเอกสาร
3. โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion hospital) 3.1 การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากร ได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่บุคลากร ได้ออกกำลังกายที่ห้องฟิตเนส และตีปิงปอง
4. การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) 4.1 การให้ข้อมูลผู้ใช้บริการ 4.2 การติดต่อประสานงาน มีการใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งเชื่อมต่อ internet มาจัดการเกี่ยวกับงานเอกสารและประกาศต่างๆ เพื่อแจ้งให้บุคลากรภายในภาควิชารับทราบ
การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้ประโยชน์จาก internet กิจกรรมที่สำคัญในแต่ละวัน, ประกาศและ แบบฟอร์มต่างๆ จะถูกนำขึ้นสู่ web page เพื่อให้บุคคลากรได้รับทราบ และ download ได้
การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้ประโยชน์จาก internet ข้อดีของการเพิ่มประสิทธิภาพด้วย web page บุคลากรสามารถรับทราบประกาศได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาดูประกาศที่ภาควิชาฯ แบบฟอร์ม หรือ ประกาศต่างๆ สามารถ post ขึ้นสู่ web page และ download โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้ประโยชน์จาก internet ข้อดีของการเพิ่มประสิทธิภาพด้วย web page ประกาศต่างๆของคณะฯที่เวียน ทาง siNET สามารถถูกประกาศบน web page ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากอยู่ในรูป electronic file (pdf) อยู่แล้ว ลดการใช้ทรัพยากรกระดาษในการพิมพ์ประกาศหรือแบบ form ต่างๆ
4. การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) 4.3 พฤติกรรมการให้บริการเป็นเลิศ ได้แก่ ข้อมูลทางทรัพยากรบุคคล เช่น ภาระงาน, รายละเอียดการประชุม อบรม สัมมนา เป็นต้น
ด้านงานบุคคล มีการพัฒนาการบันทึกข้อมูลบุคคลากรลงในโปรแกรม Microsoft office Access เพื่อสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูล มีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีรายละเอียดดังนี้
ด้านงานบุคคล
การวิจัย ปัญหา และอุปสรรค การเรียนการสอน อัตราส่วนของอาจารย์ต่อนักศึกษาไม่เพียงพอ การวิจัย เงินทุนวิจัยน้อย จำนวนอุปกรณ์ และเครื่องมือห้องปฏิบัติการไม่สมดุลกับภาระงาน
Thank you