กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Advertisements

1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
งานกิจการนิสิต
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษาพยาบาล การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา(IQA /สกอ.) การประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา(สมศ.) การรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษาพยาบาล สภาการพยาบาล มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์(มคอ.๑) การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

มคอ.๑ บ่งชี้คุณภาพการศึกษาได้อย่างไรบ้าง การกำหนดผลการเรียนรู้ กำหนดโครงสร้างหลักสูตรและเนื้อหาสาระของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต กรรมการพัฒนาหลักสูตรต้องมีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และผู้แทนจากสภาการพยาบาล กำหนดให้มีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา และระดับหลักสูตร กำหนดคุณสมบัติอาจารย์ประจำ อัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา และอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ต้องมีครบทุกสาขาหลักทางการพยาบาล ให้ระบุการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรเพื่อเป็นกลไกการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา มีการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน กลไกการเผยแพร่หลักสูตร

ความสัมพันธ์ของTQF-IQA-EQA และการรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษาพยาบาลของสภาการพยาบาล ตัวบ่งชี้คุณภาพของทุกเกณฑ์การประเมินมีความสัมพันธ์ในหลักการ ข้อกำหนดใน มคอ.๑ เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยเพิ่มคุณลักษณะเฉพาะที่แสดงคุณภาพการจัดการศึกษาพยาบาล สกอ.กำลังปรับตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ กรรมการประเมินคุณภาพภายใน (IQA) เป็นผู้ประเมินการบรรลุเป้าหมายของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนตามดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่แต่ละสถาบันระบุไว้ในแต่ละหลักสูตร คณะอนุกรรมการรับรองสถาบันและหลักสูตรการศึกษาฯ สภาการพยาบาลจะปรับเกณฑ์การรับรองสถาบันและหลักสูตรให้สอดรับกับหลักการและเกณฑ์TQF

TQF ช่วยงานประกันคุณภาพอย่างไรบ้าง พัฒนาระบบเอกสาร/หลักฐานแสดงคุณภาพ มคอ.๓-๔ ต้องเสร็จก่อนเปิดสอน มคอ.๕-๖ ต้องเสร็จภายใน ๓๐ วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร(มคอ.๗) ภายใน ๖ๆวันหลังสิ้นปีการศึกษา อื่นๆตามตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ถ้าไม่ดำเนินการมีผลให้หลักสูตรไม่ได้รับการเผยแพร่ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลตามผลการเรียนรู้ สร้างระบบ CQI เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในทุกหน่วยงานในองค์กร อื่นๆ