งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ด้านการอาชีวศึกษาในการประเมินรอบสาม ผ่องพรรณ จรัสจินดารัตน์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ

2 บทบาทของสถานศึกษา สถานศึกษาต้องเตรียมการประกันภายในให้ดีที่สุดเน้น
ความพร้อมของ - ปัจจัยสนับสนุน (Input) - กระบวนการจัดการศึกษา (Process) - การบริหารและจัดการ

3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
สภาพของการประกันคุณภาพภายใน ปัจจุบัน มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและ การจัดการเรียน การสอน มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที่ 6 การบริหาร และการจัดการ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและ ผู้สำเร็จการศึกษา มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและ การวิจัย มาตรฐานที่ 4 การบริหารการวิชาชีพ

4 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม : แนวคิดและทิศทางการอาชีวศึกษา
รอบ 1 รอบ 2 รอบ 3 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม : แนวคิดและทิศทางการอาชีวศึกษา

5 5.2) มาตรฐานการศึกษาอาชีวศึกษา 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้
1. ประกันคุณภาพภายใน (2 ตบช.) 2.คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (4 ตบช.) 3. การจัดการเรียนการสอน (10 ตบช.) 4. สร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และ นักศึกษา (3 ตบช.) 5. บริการวิชาการและวิชาชีพต่อสังคม ชุมชน 6. บริหารและการจัดการ

6 6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต
6.2) ให้ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลักตาม มาตรา 51 (Outcome Mapping) โดยให้น้ำหนักร้อยละ 75 ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี 6.3) ให้ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดย ระบบพิชญพิจารณ์ (Peer Review) สำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา ส่วนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประเมิน โดยผู้ประเมินของบริษัทประเมิน 6.4) ให้ประเมินโดยการยืนยัน SAR (ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้) เพื่อกระตุ้น ให้ IQA มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น

7 6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต
6.5) ในเชิงกระบวนการ (ร้อยละ 25) ให้ความสำคัญกับคุณภาพครูและ คณาจารย์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ การบริหารจัดการแบบ SBM และการประกันคุณภาพภายใน 6.6) ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและ กระบวนการให้อยู่ในระบบประกันคุณภาพภายใน

8 6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต
6.7) กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษารอบที่ 3 : สถานศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา ภายใน 5 มาตรฐาน 32 ตัวบ่งชี้ กำกับ ดูแลและ ขับเคลื่อน การ ดำเนินงา น (Gover nance) (10%) โดย คณะกรรมก าร วิทยาลัย/ สถาบัน อาชีวศึกษา ผลการจัดการศึกษา (Result) (75%) คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา การวิจัยและนวัตกรรมและการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน การบริหารจัดการ (Management) (15%) โดยผู้อำนวยการวิทยาลัย/อธิการบดี การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6 34 มาตรฐานการอาชีวศึกษา ภายนอก 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้

9 ร่างมาตรฐานและตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกด้านอาชีวศึกษารอบสาม

10 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ร้อยละ ๓๐)
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ร้อยละ ๓๐) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ทีสอบผ่านข้อสอบ O-Net ร้อยละการได้งานทำภายใน ๑ ปี (เฉพาะที่รายงานเข้าฐานข้อมูล สอศ.) ร้อยละการประกอบอาชีพอิสระที่ตรงตามสาขา(เฉพาะที่รายงานเข้าฐานข้อมูล สอศ.) ระดับความพึงพอใจของหน่วยงานหรือสถานประกอบการที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา

11 มาตรฐานที่ 2 การจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ ๒๕)
มาตรฐานที่ 2 การจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ ๒๕) อัตราส่วนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพและมีใบประกอบวิชาชีพต่อนักศึกษาใน แต่ละประเภทวิชา กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะวิชาชีพของผู้เรียน กระบวนการพัฒนานักศึกษาด้านคุณธรรม/จริยธรรม/ทักษะทางสังคม ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์ที่สำรวจโดย หน่วยงานกลางที่น่าเชื่อถือ

12 มาตรฐานที่ 3 นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา (ร้อยละ ๒๐)
จำนวนผลงานทางวิชาการของอาจารย์ที่มีคุณภาพได้รับการยอมรับโดย คณะกรรมการระดับชาติ(หรือได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา) จำนวนผลงานทางวิชาชีพของนักศึกษาที่มีคุณภาพได้รับการยอมรับโดย คณะกรรมการระดับชาติ(หรือได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา)

13 มาตรฐานที่ 4 การบริหารและการจัดการ (ร้อยละ ๒๕)
มาตรฐานที่ 4 การบริหารและการจัดการ (ร้อยละ ๒๕) การบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) ของผู้บริหาร สถานศึกษา ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการ ประกันคุณภาพในการบริหารงานอย่างต่อเนื่อง กระบวนการจัดสรรและบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการพัฒนาครูอาจารย์(และบุคลากร)ที่มีประสิทธิภาพ ความสำเร็จด้านการบริหารจัดการที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน สังคม


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google