การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
เอกสารที่ต้องยื่นในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
ฟังให้ดีมีประโยชน์.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
การเตรียมตัว สู่ตำแหน่งวิชาการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
Management Information Systems
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
อธิการบดีพบพนักงานใหม่
เทคนิคการวิจัยแบบ EFR (The Ethnographic Futures Research)
ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
จิบน้ำชา สายวิชาการ 7 มีนาคม 2554.
1 จิบน้ำชา ประชาคมวิศวฯ ( สายวิชาการ + สาย สนับสนุน ) 24 พฤษภาคม 2554.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประเมินผู้ที่มีผลงานดีเด่น ที่ประสบความสำเร็จเป็นที่ประจักษ์
ว 5/2554.
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
องค์ประกอบของบทละคร.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
Post-Structuralism or Nothing แนวการสอนรายวิชา สังคมวิทยาชนบทและเมือง Rural and Urban Sociology 3 (3-0) 
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
สรุปสาระสำคัญของการจ้างคณาจารย์ ประจำที่อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจ้างคณาจารย์ประจำที่มีอายุครบ.
ThaiLIS ThaiLIS ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย รายงานการวิจัยของอาจารย์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม รวบรวมจากมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศ.
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ข้าราชการ วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ผลงานดังต่อไปนี้ 1. งานวิจัย 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น 3. ผลงานรับใช้สังคม 4. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (เลือกข้อใด ข้อหนึ่ง มีผลการประเมินคุณภาพระดับ ดี ขึ้นไป)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัย วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถเลือกได้ 2 วิธี ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 ประกอบไปด้วย 1.1 ผลงานวิจัย และ 1.2 ตำรา,หนังสือ,บทความทางวิชาการ ผลประเมิน = ดี วิธีที่ 2 มี 2 วิธี 2.1 งานวิจัย 2 ชิ้น ผลประเมิน=ดี 2.2 งานวิจัย 1 ชิ้น ผลประเมิน= ดีมาก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ วิธีพิเศษ คือ 1. การขอก้าวกระโดด ตัวอย่างเช่น จากอาจารย์ ไปเป็นรองศาสตราจารย์ 2. การขอก่อนครบกำหนดอายุ เช่นก่อนจะขอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จะต้องเป็นดำรงตำแหน่งอาจารย์ 2 ปีขึ้นไป วิธีการขอกำหนดตำแหน่งจะต้องมีผลงาน 1.1 ผลงานวิจัย และ 1.2 ตำรา,หนังสือ,บทความทางวิชาการ ผลประเมิน = ดีมาก

รองศาสตราจารย์ ข้าราชการ วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ผลงานดังต่อไปนี้ 1. งานวิจัย 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น 3. ผลงานรับใช้สังคม และ 1. งานแต่ง หรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (มีผลการประเมินระดับ ดี )

รองศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัย วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มี 2 วิธี วิธีที่ 1 1. งานวิจัย 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น 3. ผลงานรับใช้สังคม และ 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ (มีผลการประเมินระดับ ดี ) วิธีที่ 2 เลือกได้ 2 วิธี คือ 2.1 งานวิจัย 2 ชิ้น ผลการประเมิน = ดี 2.2 งานวิจัย 1 ชิ้น ผลการประเมิน = ดีมาก

รองศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ วิธีพิเศษ คือ 1. การขอก้าวกระโดด ตัวอย่างเช่น จากอาจารย์ ไปเป็นรองศาสตราจารย์ 2. การขอก่อนครบกำหนดอายุ เช่นก่อนจะขอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จะต้องเป็นดำรงตำแหน่งอาจารย์ 2 ปีขึ้นไป วิธีการขอกำหนดตำแหน่งจะต้องมีผลงาน 1.1 ผลงานวิจัย และ 1.2 งานแต่งตำรา หรือ หนังสือ ผลประเมิน = ดีมาก กระทำได้ต้องเป็นวิธีที่ 1 เท่านั้น

ศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการ วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มี 2 วิธี วิธีที่ 1 1. งานวิจัย หรือ 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ 3. ผลงานรับใช้สังคม และ 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ (มีผลการประเมินระดับ ดีมาก ) โดยมีผู้ประเมินจำนวน 3 ท่าน และ 2 ใน 3 เสียง ต้องเป็นดีมาก

ศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการ วิธีที่ 2 1. งานวิจัย หรือ 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ 3. ผลงานรับใช้สังคม หรือ 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ (มีผลการประเมินระดับ ดีเด่น) โดยมีผู้ประเมินจำนวน 3 ท่าน และ 2 ใน 3 เสียง ต้องเป็นดีเด่น

ศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ 1. งานวิจัย หรือ 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ 3. ผลงานรับใช้สังคม และ 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ (มีผลการประเมินระดับ ดีเด่น) โดยมีผู้ประเมินจำนวน 5 ท่าน และ 4 ใน 5 เสียง ต้องเป็นดีเด่น