หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวด 1 ระบบการจัดการศึกษา และการรับเข้าเป็นนักศึกษา
Advertisements

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Doctor of Philosophy
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตด้านสารสนเทศทางธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่
ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
สรุปประเภทของการวิจัย
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประกาศต่างๆที่ออกให้สอดคล้องกับข้อบังคับฯบัณฑิตศึกษา
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
(Competency Based Curriculum)
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
ข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
คุณธรรมนำความรู้ บูรณาการคุณค่าความ เป็นมนุษย์ นโยบายการจัด การศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ชื่อหลักสูตร: หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (Doctor of Philosophy Program in Chinese) 2. ชื่อปริญญา: อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต อ.ด. (Doctor of Philosophy Ph.D.) 3. ชื่อที่ลงในใบTranscript: Field of Study: Chinese

4. ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และภาวะความต้องการบัณฑิต 4.1 ปรัชญาของหลักสูตร เป็นหลักสูตรภาษาจีนระดับดุษฎีบัณฑิตที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ 4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4.2.1 มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ลึกซึ้งและมีความเชี่ยวชาญทางภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีน พร้อมที่จะสอนในสถาบันอุดม ศึกษาทุกระดับ

4.2.2 มุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาภาษาจีน เพื่อกระตุ้นให้มีผลงานวิจัยทางด้านภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีนให้มากขึ้น และเป็นไปตามมาตรฐานสากล 4.3 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 4.3.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลงานวิจัยทางด้านภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีนที่เผยแพร่ในระดับสากล 4.3.2 มีความสามารถในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล และเป็นองค์ความรู้ใหม่

4.3.3 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน และงานที่เกี่ยวข้องได้ 5. ระบบการศึกษา ใช้ระบบการศึกษาแบบหน่วยกิตเป็นแบบทวิภาค ปีการศึกษาหนึ่งๆ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ภาคการศึกษา คือ ภาคการศึกษาต้น และภาคการศึกษาปลาย และอาจมีภาคฤดูร้อนต่อจากภาคการศึกษาปลายอีกภาคหนึ่งก็ได้ ภาคการศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ส่วนภาคฤดูร้อนมีระยะเวลาการศึกษาประมาณ 6-8 สัปดาห์

6. ระยะเวลาการศึกษา ไม่เกิน 5 ปีการศึกษา (สำหรับหลักสูตรแบบ 1.1 และ 2.1) หรือ 8 ปีการศึกษา (สำหรับหลักสูตรแบบ 1.2 และ 2.2) 7. การลงทะเบียนเรียน ไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิตและไม่เกิน 15 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษา ส่วนภาคฤดูร้อนไม่เกิน 6 หน่วยกิต

8. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา การประเมินผลรายวิชาให้ใช้สัญลักษณ์ A B+ B C+ C D+ D และ F ส่วนวิทยานิพนธ์ใช้ ดีมาก ดี ผ่าน และ ตก โดยผลงาน วิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ของนิสิตจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer review) ก่อนการตีพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น หรือในวารสารที่มีการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ

9. หลักสูตรแบบ 1.1 9.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต 9.2 โครงสร้างหลักสูตร วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต ในภาคการศึกษาใดที่นิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนา นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา 2222894 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ทุกภาคการศึกษาจนกว่าจะสำเร็จการศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิตและประเมินผลเป็น S/U

2222 828* วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต 10. หลักสูตรแบบ 1.1 วิทยานิพนธ์ (48 หน่วยกิต) 2222 828* วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation *รายวิชาเปิดใหม่

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่สอง 11. แผนการศึกษา แบบ 1.1 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาแรก 2222828* วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่สอง 2222 828* วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต *รายวิชาเปิดใหม่

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่สอง ปีที่ 2 ภาคการศึกษาแรก 2222 828* วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต รวม 9 หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่สอง ปีที่ 3 ภาคการศึกษาแรก 2222 828* วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวม 12 หน่วยกิต