สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
Advertisements

ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนComputerAssisted Instruction (CAI) เรื่อง Passive Voice สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียน (Posttest) สูงกว่าคะแนนก่อน การเรียน (Pretest) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ และพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 80.73/81.05 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ที่ 80/80

80 ตัวแรก คือ ค่าคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้จาการทำแบบทดสอบภายในบทเรียนได้ถูกต้อง หลังจากที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยได้คะแนนเฉลี่ยทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 80 80 ตัวหลัง คือ จำนวนนักเรียนที่ผ่านการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร้อยละ 80 ที่ได้ค่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80 ขึ้นไป  

จากการสอบถามถึงความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับปานกลางถึงมากที่สุด แสดงให้เห็นว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice มีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน และช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง Passive Voice เพิ่มขึ้น จึงเหมาะสมที่ จะนำไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน หรือศึกษาด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice ที่ได้สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ จึงควรนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ต่อไป โดยใช้ในการเรียนในชั้นเรียน หรือนอกเวลาเรียน โดย ให้นักเรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ที่ห้อง Sound Lab รวมทั้งสามารถนำไปใช้ทดลองเรียนกับ นักเรียนในระดับชั้นอื่น ๆ หรือในการศึกษานอกระบบโรงเรียนได้

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาหรือวิจัย ในด้านความคงทนของการจำของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น โดยเปรียบเทียบกับสื่อการสอนชนิดอื่น ๆ 2. สามารถใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นนี้ เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในเนื้อหาวิชาอื่น ๆ

ผังความคิด ADDIE model นวัตกรรม

ขั้นการวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ ขั้นการพัฒนา ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๑๕๔๓จำนวน๒๕๐คน เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)เรื่องPassive Voice ขั้นการออกแบบ ใช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอบทเรียนมีลักษณะเป็นการนำเสนอสื่อผสม ได้แก่ข้อความภาพนิ่ง กราฟฟิก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศน์และเสียง โครงสร้างเนื้อหาดึงดูดความสนใจและกระตุ่นผู้เรียนให้เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้ ขั้นการพัฒนา สื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว เกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งได้รับผลป้อนกลับในด้านเนื้อหาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียนตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี และตรวจความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา

ขั้นการนำไปใช้ ขั้นการประเมิน 1. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเริ่มบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Pretest) ประมาณ 30 นาที 2. อธิบายให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที 3. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice และทำแบบ ฝึกหัด โดยใช้เวลาในการทดลอง 50 นาที 4. หลังจากเรียนเสร็จแล้ว ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้เวลา 30 นาที ขั้นการประเมิน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยเปรียบเทียบผลคะแนน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษ เรื่อง Passive Voice โดย กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน 80/80จากร้อยละของผลเฉลี่ยคะแนนการทำงานและประกอบกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมด

ที่มา http://www.thaiedresearch.org/thaied/index.php?-table=thaied_results&- search=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8 %B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9&- action=browse&q=thaied_results&-cursor=97&-skip=90&-limit=30&-mode=list&- recordid=thaied_results%3Fid%3D6850  

โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จัดทำโดย นางสาว อัมรินทร์ มีผล 541121117 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์