งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน (สะล้อก๊อบ) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

2 นายธวัชชัย สวนแก้ว โรงเรียนบ้านม่วงตึ๊ด
นายธวัชชัย สวนแก้ว ตำแหน่งครูชำนาญการ โรงเรียนบ้านม่วงตึ๊ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่านเขต 1 อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน

3 บทคัดย่อ วัตถุประสงค์เพื่อการวิจัย 1 ) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน (สะล้อก๊อบ) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80

4 2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ) ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านม่วงตึ๊ด สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต จำนวน คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551

5 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การเรียนดนตรี พื้นบ้านของจังหวัดน่าน (สะล้อก๊อบ) จำนวน 4 หน่วย 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบแบบ 4 ตัวเลือก มีค่าความยากอยู่ระหว่าง ถึง ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง ถึง และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ เท่ากับ 0.88

6 3) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน (สะล้อก๊อบ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

7 ผลการศึกษาพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น มี ประสิทธิภาพ / ) 2 ) ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีค่า เท่ากับ แสดงว่านักเรียนมี ความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 63

8 3) นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเฉลี่ยโดยรวมรายด้าน และรายข้ออยู่ในระดับ มากที่สุด

9 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google