ดิจิตอลและการออกแบบตรรก Digital Systems and Logic Design
ทำไมต้องเรียนวิชานี้ มีความรู้พื้นฐานด้านวงจรดิจิตอล/วงจรตรรกและคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรมด้วย พัฒนาให้มีพื้นฐานที่สำคัญด้านศาสตร์วงจรดิจิตอลและตรรกและนำไปประยุกต์ในศาสตร์ขั้นสูงของสาขาวิชาให้ทันกับพลวัตการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ได้
ทำไมต้องเรียนวิชานี้ ปี 1(1+2)-2(1) ปี 2-ปี 3(1) ปี 3-4 วิชาชีพ พื้นฐานวิศวกรรม พื้นฐานวิทยาศาสตร์ แผนที่หลักสูตร
ทำไมต้องเรียนวิชานี้ คณิตศาสตร์/ฟิสิกส์ พีชคณิต สารกึ่งตัวนำ ดิจิตอล/ตรรก การคำนวณเชิงดิจิตอล วงจรดิจิตอลและการประยุกต์ Hardware/Computation ไมโครโพรเซสเซอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ อัลกอริทึมและการคำนวณที่ซับซ้อน
คำอธิบายวิชา ประวัติและภาพรวม ทฤษฏีการสลับค่า พารามิเตอร์การออกแบบและประเด็นที่เกี่ยวข้อง วงจรคอมบิเนชั่น การออกแบบมอดุลาร์ของวงจรคอมบิเนชั่น ส่วนประกอบของหน่วยความจำและหน่วยเก็บ วงจรลำดับ การออกแบบระบบดิจิตอล
จำนวนชั่วโมง บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง 45 ชั่วโมง/ภาค การศึกษา ในบางเนื้อหาที่ต้องการอธิบายรายละเอียด ไม่มีการฝึกปฏิบัติ 45 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คุณธรรมจริยธรรม (ตรงต่อเวลา ทำงานร่วมกับผู้อื่น) ความรู้ (เข้าใจเนื้อหา วิเคราะห์ปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้ได้ และวิเคราะห์/ออกแบบองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ได้ บูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นได้) ทักษะทางปัญญา (คิดอย่างเป็นระบบและประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาได้) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น) ทักษะการวิเคราะห์และสารสนเทศ(สื่อสารและนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ)
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ 1 ประวัติและภาพรวม บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ทฤษฏีการสลับค่า 2 ทฤษฏีการสลับค่า (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ทดสอบย่อย พารามิเตอร์การออกแบบและประเด็นที่เกี่ยวข้อง 4 พารามิเตอร์การออกแบบและประเด็นที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) 5 6 วงจรคอมบิเนชั่น 7 วงจรคอมบิเนชั่น (ต่อ) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ทดสอบย่อย งานกลุ่ม งานบุคคล การออกแบบมอดุลาร์ของวงจรคอมบิเนชั่น 8 การออกแบบมอดุลาร์ของวงจรคอมบิเนชั่น (ต่อ) 9 สอบกลางภาค 10 ส่วนประกอบของหน่วยความจำและหน่วยเก็บ 11 ส่วนประกอบของหน่วยความจำและหน่วยเก็บ (ต่อ) วงจรลำดับ 12 วงจรลำดับ(ต่อ) 13 14 การลำดับ(ต่อ) บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย กรณีศึกษา งานบุคคล งานกลุ่ม การออกแบบระบบดิจิตอล 15 การออกแบบระบบดิจิตอล(ต่อ) 16 สอบปลายภาค
แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของการ ประเมินผล 1 2.1.1-2.1.8, 3.1.3, 4.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1-7 1-17 10% 1.1.1, 2.1.1-2.1.8, 3.1.1-3.1.3, 4.1.2, 5.1.1 สอบกลางภาค 9 25% สอบปลายภาค 16 35% 2 1.1.1, 2.1.1-2.1.8, 3.1.1-3.1.3, 4.1.1-4.1.2, 5.1.1 การทำงานรายบุคคลและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20% 1.1.1-1.1.2, 2.1.1-2.1.8, 3.1.1-3.1.3, 4.1.1-4.1.2, 5.1.1 การทำงานกลุ่มและผลงาน 3.1.4, 5.1.1 การตอบคำถามและอภิปราย 1.1.1,4.1.1 การส่งรายงานตามที่มอบหมาย 3 1.1.1-1.1.2 การเข้าชั้นเรียน 2.1.1-2.1.3, 3.1.1-3.1.3,4.1.2,5.1.1 การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนและผ่าน Facebook
วิธีการประเมิน ใช้ระบบประเมินของภาควิชา >=80 A 75<=x<80 B+ 65<=x<70 C+ 60<=x<65 C 55<=x<60 D+ 50<=x<55 D < 50 E
ทรัพยากรในการเรียนรู้ เอกสารและตำราหลัก Floydd, Digital Fundamentals 11th Edition, Prentice-Hall ทวีศักดิ์ เรืองพีระกุล, 2552 เอกสารประกอบการสอนของรายวิชา 241-208 ดิจิตอลและการออกแบบตรรก ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ Facebook : Mitchai Chongcheawchamnan, @Group : Digital System and Logic Design Website: fivedots.coe.psu.ac.th/~mitchai