Principles of Agricultural Marketing By AJ.Nithicha Thamthanakoon
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตลาดสินค้าเกษตร และอาหาร 1.1 สินค้าเกษตรกับสินค้าอาหาร 1.2 การตลาดเป็นกระบวนการเพิ่มมูลค่า 1.3 ความหมายปละคำจำกัดความของตลาดและการตลาด 1.4 บทบาทของการตลาด 1.5 การตลาดสินค้าเกษตรและอาหารในตลาดรวม 1.6 พัฒนาการตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
Non Food เช่น เส้นใย ปอ ยางพารา สินค้าเกษตร พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด มันสำปะหลัง อ้อย เป็นต้น พืชสวน ได้แก่ ไม้ผลต่างๆ เช่น ส้มโอ มะม่วง ลำไย ธัญพืช ได้แก่ ข้าว ถั่วเหลือง ถั่วเขียว พืชผัก ได้แก่ ผักต่างๆ ปศุสัตว์ ได้แก่ หมู ไก่เนื้อ ไก่ไข่ โคเนื้อ โคนม ประมง ได้แก่ ปลาชนิดต่าง ๆ Food Non Food เช่น เส้นใย ปอ ยางพารา
เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปพร้อมบริโภค สินค้าอาหาร เป็นสินค้าที่อยู่ในรูปพร้อมบริโภค กระบวน การแปรรูป สินค้าเกษตร สินค้าอาหาร
ผ่านกระบวนการ แปรรูปขั้นต้น ผู้บริโภคภายในประเทศ/ ผู้ค้าส่ง/ผู้ค้าปลีก สินค้าเกษตร ผู้รวบรวม ผ่านกระบวน การแปรรูป ผ่านกระบวนการ แปรรูปขั้นต้น ผู้บริโภคภายในประเทศ/ ภายนอกประเทศ ผู้ค้าส่ง/ผู้ค้าปลีก
ให้อยู่ในรูปพร้อมบริโภค ผู้บริโภคภายในประเทศ/ วัตถุดิบ ผู้รวบรวม อาหาร ผ่านกระบวนการแปรรูป ให้อยู่ในรูปพร้อมบริโภค ผู้บริโภคภายในประเทศ/ ภายนอกประเทศ ผู้ค้าส่ง
ที่มีพฤติกรรมการซื้อ/ขาย ตลาด (Market) คือ สภาพการณ์ที่ Demand และSupply เกิดการทำงานในที่สุด เกิดการแลกเปลี่ยนภายใต้ราคาที่กำหนดขึ้น ไม่จำเป็นต้องมีสถานที่แน่นอน คนหรือกลุ่มคน ที่มีพฤติกรรมการซื้อ/ขาย คนหรือกลุ่มคน ที่มีความต้องการ คนหรือกลุ่มคน ที่มีอำนาจซื้อ
กิจกรรมอันก่อให้เกิด การตลาด (Marketing) หมายถึง กลุ่มกิจกรรม และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆ เพื่อให้สินค้าและบริการเคลื่อนจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคซึ่งเป็นผู้ใช้คนสุดท้าย กิจกรรมอันก่อให้เกิด การแลกเปลี่ยน
การตลาดสินค้าเกษตร (Agricultural Marketing) มีกิจกรรมเชิงธุรกิจทำให้ สินค้าเคลื่อนย้ายจาก จุดต้นทางไปยังจุดปลายทาง ในรูปร่างเวลา สถานที่ และราคาที่ผู้บริโภค และองค์กรพอใจจ่าย อย่างมีประสิทธิภาพและ สนองความพอใจสูงสุด ของผู้บริโภคและองค์กร ต้นทาง Sources ปลายทาง Destination
ตลาดสินค้าทั่วไป Management Supplier โรงงานแปรรูป ผู้บริโภค
ตลาดสินค้าเกษตร สินค้าแปรรูป พร้อมขาย โรงงานแปรรูป ผู้บริโภค ขั้นต้น ตลาดกลาง (มีผู้รวบรวม) Supplier
การตลาด เริ่มจากแหล่งผลิต(Form)ด้วยการ Plan of Productionให้ตรงตามลักษณะ demand ของผู้บริโภคและความต้องการ ของตลาดจบด้วยการจำหน่าย fresh/processed product แก่ผู้บริโภค/ผู้ใช้ มีกระบวนการทางการ ตลาดเข้ามาเพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคให้เกิดความพึงพอใจใน 4 ด้าน เพื่อตอบสนองอรรถประโยชน์ในด้าน Form Utility Place Utility Time Utility Possession Utility
การตลาดเป็นกระบวนการเพิ่ม(มูล)ค่าของสินค้า สินค้าเกษตรและสินค้าอาหารต่างเริ่มจากวัตถุดิบ จะต้องมีกิจกรรมตามมา จำเป็นต้องเปลี่ยนรูปร่าง ขนส่ง เก็บรักษาตามฤดูกาล จำเป็นต้องจัดสถานที่ขายรวม กิจกรรมเหล่านี้ต่างมีความจำเป็น (ถือว่า Productive) กิจกรรมของคนกลาง (Middleman) ก็ถือว่าจำเป็นด้วย
การตลาดเป็นกระบวนการเพิ่ม(มูล)ค่าของสินค้า Marketing Bill Net income ผู้บริโภคภายใน Product Market Sector Farm Sector ผู้บริโภคทั่วโลก Input Sector Farm sector Non – Farm sector
บทบาทของการตลาด บทบาทของการตลาดมีมากขึ้นตามการพัฒนาการทางเศรษฐกิจผู้ผลิตมีการผลิตเฉพาะทางมากขึ้น พร้อมๆกับการผลิต นอกเหนือจากการบริโภคภายในครัวเรือน -เริ่มมีการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการการบริโภคภายนอกครัวเรือน -ตลาดจึงถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนสินค้า -กระบวนการตลาดเกิดขึ้น พร้อมๆกับพ่อค้าคนกลาง
บทบาทของการตลาด เมื่อกระบวนการตลาดเกิดขึ้น ปัญหาการตลาดต่างๆ เกิดขึ้น -ซึ่งก่อให้เกิดอุปสรรคแก่การดำเนินกิจกรรม -ผู้บริโภคไม่ได้รับความสะดวกในการได้มาของสินค้า -รัฐบาลเริ่มเข้ามาช่วยเหลือ -โครงสร้างพื้นฐานมีความพร้อมมากขึ้น -การตลาด เปิดประตูสู่การค้าระหว่างประเทศ -การตลาด ทำให้กระบวนการผลิตสินค้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
สรุปบทบาทของการตลาด อำนวยสะดวกในการค้าขาย เป็นส่วนเติมเต็มของการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการจัดสรรโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ก่อให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต พัฒนาประเทศ
การตลาดอาหารในตลาดรวม การตลาดอาหาร => เป็นเรื่องเศรษฐกิจของแต่ละบุคคลหรือองค์กร การตลาดรวม => เป็นเรื่องของเศรษฐกิจโดยรวม ทั้งสองอย่างนี้จึงมีความแตกต่างกัน 1. เป็นเรื่องของบุคคลหรือองค์กร รายได้และกำไรเป็นของบุคคลหรือองค์กร แต่ตลาดรวมเป็นเรื่องเศรษกิจของคนทั้งประเทศ 2. การกำหนดราคาเป็นการตัดสินใจของบุคคลหรือองค์กรจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ demand, supply, risks and shared in market economy 3. การตลาดอาหาร ก่อให้เกิดการมีประสิทธิภาพ และกระบวนการแปรรูปสินค้า 4. การตลาดอาหาร มีกิจกรรมทางการตลาดมากกว่า ซึ่งก่อให้เกิดความพึงพอใจของผู้บริโภคมากกว่า 5. เงื่อนไขต่าง ๆ ในการตลาดอาหาร จำกัดบทบาทของภาครัฐบาล แต่เมื่อกระบวนการทางการตลาดล้มเหลว การแทรกแซงของภาครัฐบาล จะเกิดขึ้น
Food marketing system The food marketing system encompasses two major types of activities. 1.Physical handling, Storage, Processing and Transfer of raw and finished goods. 2.Exchange and price-setting processes in the market system
The agricultural producer Growth Inflation Employment The agricultural producer Science and Technology The marketing system Business firms: Organizational structure: Physical and Exchange activities technological activities Business management Organizational activities activities of the system Global Economy Infrastructure -Transportation -Communication -Education The Consumer Government -Laws, regulations -Courts -Economic policy Competition Consumer, Ethics
พัฒนาการการตลาดเกษตร การตลาดเป็นผลโดยตรงของการผลิตตามความถนัด เกิดความชำนาญ => ผลผลิตรวมมีมากขึ้น เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน แลกเปลี่ยนโดยตรง (Barter) คือ การแลกเปลี่ยนสินค้าอย่างหนึ่งที่ตนผลิตได้กับสินค้าอื่นๆ ต่อมามีการพัฒนาสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน => เงิน เกิด Central Market and Middleman