ความน่าจะเป็น (Probability)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ความน่าจะเป็น Probability.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Sampling Distribution
รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
1. นางสาวจิราพร โต๊ะถม เลขที่ นางสาวเสาวภา จันทร์ทิม เลขที่ 41.
จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ ผลการทดสอบและคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา จัดทำโดย.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
ผศ.(พิเศษ)นพ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Decision Limit & Detection Capability.
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
Office of information technology
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ.
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความน่าจะเป็น (Probability) ผศ. นิคม ถนอมเสียง ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ขอนแก่น Email: nikom@kku.ac.th

ความน่าจะเป็น (Probability) ความหมาย “ความน่าจะเป็น หรือโอกาสของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ” Sample Space Event

ความน่าจะเป็น (Probability) -Subjective Probability ประเมินจากประสบการณ์ เงื่อนไขและสภาพแวดล้อม เช่น นาย ก. จะหายจาก TB = .80 พิจารณาจาก ความรุนแรง สุขภาพ ความร่วมมือ

ความน่าจะเป็น (Probability) -Objective Probability ประเมินจากความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ Prior Probability เหตุการณ์ที่สนใจหารด้วยจำนวนเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ Posterior Probability เหตุการณ์ที่สนใจภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน

T+ T- Prior Probability เหตุการณ์ที่สนใจหารด้วยจำนวน เหตุการณ์ที่เป็นไปได้ เช่น -ความชุกเกิดโรค TB ในผู้ป่วยที่มารับบริการ ทั้งหมด (30/1820) D+ D- T+ T- n

Conditional Probability เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น B ภายใต้หรือรู้ว่ามีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน A เช่น -โอกาสการตรวจพบด้วยเครื่องมือ x-rayให้ผลเป็น + ในผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรควัณโรค Disease Present D+ Absent D- True positive False positive Test + (a) (b) a+b - (c) (d) c+d False negative True negative a+c b+d sensitivity specificity a d = ------ =------ a+c b+d

Posterior Probability เหตุการณ์ที่สนใจภายใต้เงื่อนไข เดียวกัน เช่น ผู้ป่วยทั่วไปที่ผลการตรวจเป็น บวก มีโอการสเป็น TB เท่าไร เขียนสัญญลักษณ์คือ P(D+/T+) โดย

{ คุณค่าการทำนายผลบวก Positive Predictive value Sensitivity ความไว 1-specificity (false positive) Specificity ความจำเพาะ อุบัติการณ์/ความชุก (Prevalance) 1-

การประยุกต์ใช้ความน่าจะเป็น -Diagnostic Test ขบวนการใช้วิธีการต่างๆ ในการตัดสินใจเพื่อช่วยจำแนกคน ที่เป็นโรคออกจากคนที่ไม่เป็นโรคได้อย่างถูกต้อง คุณสมบัติของ Diagnostic Test -ประเมินได้โดยการเปรียบเทียบผลที่ได้จากการใช้ diagnostic test (เครื่องมือนั้นๆ ) กับประชากรที่ทราบแน่นอนว่า “ป่วย” “ไม่ป่วย” โดยใช้ gold standard -Screen Test การแยกกลุ่มศึกษาออกเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง และความเสี่ยงต่ำ

ตัวอย่าง -จำเป็นต้องใช้ ความน่าจะเป็นเข้ามาเกี่ยวข้อง -การนำเครื่องมือ/วิธีนั้นๆ (แบบคัดกรอง)ไปตรวจกับคนทั่วไปเพื่อ พิจารณาว่าเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือไม่ -นำเครื่องมือ (x-ray) ไปตรวจกับคนทั่วไป เพื่อพิจารณาว่า ต่อไปจะเป็นหรือไม่เป็นวัณโรค -จำเป็นต้องใช้ ความน่าจะเป็นเข้ามาเกี่ยวข้อง

สถิติที่ใช้ Diagnostic Test Disease Present D+ Absent D- True positive False positive Test + (a) (b) a+b - (c) (d) c+d False negative True negative a+c b+d สถิติที่ใช้ Diagnostic Test -ความไว (sensitivity) -ความจำเพาะ (specificity) -Positive predictive value (PV+) -Negative predictive value(PV-) -Receiver Operating Characteristic (ROC Curve) -Likelihood ratio

ตาราง 2x2 กับสถิติที่ใช้ Diagnostic Test Disease Present D+ Absent D- True positive False positive Test + (a) (b) a+b - (c) (d) c+d False negative True negative a+c b+d sensitivity specificity Prevalence a d a+c = ------ =------ = ----------- a+c b+d a+b+c+d PV+ PV- LR+ LR- b d a/(a+c) c/(a+c) = ------ = ------ =---------- =---------- a+b c+d b/(b+d) d/(b+d)

โอกาสที่ผู้เป็นโรค จะตรวจได้ผลบวก อาจเรียกว่า “ผลบวกจริง” Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b - (c) 1 (d) 45 c+d False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 ความไว (sensitivity) โอกาสที่ผู้เป็นโรค จะตรวจได้ผลบวก อาจเรียกว่า “ผลบวกจริง” (true positive) =9/10 = 90% ผลลบลวง (false positive) โอกาสที่ผู้เป็นโรค จะตรวจได้ผลลบ =1/10 = 10%

ความจำเพาะ (specificity) Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b - (c) 1 (d) 45 c+d False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 ความจำเพาะ (specificity) โอกาสที่ผู้ไม่เป็นโรค จะตรวจให้ผลลบ อาจเรีกว่า “ผลลบจริง” (true negative) = 45/63 = 71.43% ผลบวกลวง (false negative) โอกาสที่ผู้ไม่เป็นโรค จะตรวจได้ผลบวก =18/63 = 28.57%

positive predictive value (คุณค่าการทำนายผลบวก) Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b 27 - (c) 1 (d) 45 c+d 46 False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 positive predictive value (คุณค่าการทำนายผลบวก) โอกาสที่ผู้ที่ตรวจได้ผลบวกจากการทดสอบ จะป่วยเป็นโรคจริง PV+ = a/(a+b) = 9/(9+18) = 33.33% negative predictive value (คุณค่าการทำนายผลลบ) โอกาสที่ผู้ที่ตรวจได้ผลลบจากการทดสอบ จะไม่เป็นโรคจริง PV- = d/(c+d) = 45/(1+45) = 97.83%

Sensitivity = 9/10 = 90% specificity = 45/63 = 71.43% Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b 27 - (c) 1 (d) 45 c+d 46 False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 Sensitivity = 9/10 = 90% specificity = 45/63 = 71.43% PV+ = 9/27 = 33.33% PV- = 45/(45+1) = 97.83% Prevalence = 10/73 =13.70% LR+ = (9/10)/(18/63) = 3.15 LR- = (1/10)/(45/630 = 0.14

. diagt dp c17 | c17 dp | Pos. Neg. | Total -----------+----------------------+---------- Abnormal | 9 1 | 10 Normal | 18 45 | 63 Total | 27 46 | 73 True abnormal diagnosis defined as dp = 1 [95% Conf. Inter.] ------------------------------------------------------------------------- Sensitivity Pr( +| D) 90.00% 55.50% 99.75% Specificity Pr( -|~D) 71.43% 58.65% 82.11% Positive predictive value Pr( D| +) 33.33% 16.52% 53.96% Negative predictive value Pr(~D| -) 97.83% 88.47% 99.94% Prevalence Pr(D) 13.70% 6.77% 23.75%

Conditional Probability Positive predictive value/ Negative predictive value พิจารณาความชุก (Prevalence rate) ร่วมด้วย Posterior Probability Conditional Probability Prior Probability PV+ (sen)(pre) -------------------------------- (sen)(pre)+(1-spec)(1-pre) PV- (sen)(pre) -------------------------------- (sen)(pre)+(1-spec)(1-pre)

ตัวอย่าง Positive predictive value/ Negative predictive value พิจารณาความชุก (Prevalence rate) ร่วมด้วย เช่นกรณีที่ต้องการนำเครื่องมือไปใช้กับกลุ่ม ประชาชนที่พบว่ามีอุบัติการณ์ (ความชุก) เพียง 5% = .1422

LR+ ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น + ในกลุ่มที่เป็นโรคจริง Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b - (c) 1 (d) 45 c+d False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 Likelihood ratio LR+ ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น + ในกลุ่มที่เป็นโรคจริง หารด้วย ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น + ในกลุ่มที่ไม่เป็นโรค LR+ = (9/10)/(18/63) = 3.15 โอกาสที่จะเกิดป่วยด้วย TB ในกลุ่มเป็น TB จริงเป็น 3.15 เท่า ของโอกาสที่จะเกิด TB ในกลุ่มไม่เป็นโรค

LR- ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น - ในกลุ่มที่เป็นโรคจริง Disease Present Absent True positive False positive Test + (a) 9 (b) 18 a+b - (c) 1 (d) 45 c+d False negative True negative a+c 10 b+d 63 73 LR- ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น - ในกลุ่มที่เป็นโรคจริง หารด้วย ความน่าจะเป็นที่ผลการทดสอบเป็น - ในกลุ่มที่ไม่เป็นโรค LR- = (1/10)/(45/63) = 0.14

Bayes’ Rule