งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายละเอียดวิชา 450 492 สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
รศ.กุลนภา ฟู่เจริญ ประธานคณะกรรมการวิชา สัมมนา 1 นำเสนอวันที่ 9 กรกฎาคม 2553 เวลา 13:00-14:00 น.

2

3 กรรมการ 4 ท่าน/กลุ่ม

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15 อาจารย์แต่ละท่านรับนักศึกษาได้ 2-3 คน
1

16

17

18 International Journals(วารสารวิชาการนานาชาติ)

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37 ภายใน 10 กันยายน 2553

38

39 ภายใน 17 กันยายน 2553

40

41

42

43

44

45

46 Save as บทความวิทยา ภายใน 17 กันยายน 2553

47

48 Abstract (บทคัดย่อ) One paragraph abstract

49 Structure abstract

50 Structure abstract

51 Structure abstract

52 One paragraph abstract
ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา

53 นามสกุล อักษรตัวแรกของชื่อ ชื่อย่อของวารสาร

54 ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา
โฮโมซัยกัส a0-thalassemia เป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดหนึ่งที่มีอาการรุนแรงและเป็นเป้าหมายหนึ่งของการควบคุมและป้องกัน ที่ดำเนินการด้วยการตรวจคัดกรองหาผู้ที่มียีนแฝง a0-thalassemia โดยใช้การทดสอบ osmotic fragility (OF) หรือพิจารณาจากค่าดัชนีเม็ดเลือดแดงที่ลดลง ทั้ง 2 วิธีมีความไวสูงแต่การตรวจยืนยันต้องใช้วิธี PCR ดังนั้นหากการตรวจคัดกรองมีความจำเพาะต่ำก็จะเป็นภาระที่หนักที่จะต้องทำ PCR จำนวนมาก การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะเพิ่มความจำเพาะในการตรวจคัดกรอง a0-thalassemia ด้วยการเพิ่มการย้อม Hb H inclusion เข้าไปในกระบวนการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียตามปกติซึ่งใช้การทดสอบ OF คัดกรอง a0 และ b-thalassemia ร่วมกับการทดสอบ dichlorophenolindophenol (DCIP) คัดกรอง Hb E โดยทำการศึกษาในตัวอย่างเลือดของผู้ที่สงสัยว่าจะมียีนแฝง a0-thalassemia จำนวน 206 ตัวอย่าง 9 ตัวอย่าง ให้ผลลบทั้ง OF และ DCIP (-/-), 58 ตัวอย่าง ผล OF บวก แต่ DCIP ลบ (+/-), 13 ตัวอย่าง ผล OF ลบ แต่ DCIP บวก (-/+) และ 126 ตัวอย่าง ให้ผลบวกทั้ง OF และ DCIP (+/+) ส่วนผลการย้อม Hb H inclusion พบว่าให้ผลบวก 51 ตัวอย่าง ใน 206 ตัวอย่าง ประกอบไปด้วย 1 ตัวอย่าง ในกลุ่ม OF/DCIP (-/-), 30 ตัวอย่าง ในกลุ่ม OF/DCIP (+/-) และ 20 ตัวอย่าง ในกลุ่ม OF/DCIP (+/+) ซึ่ง 51 ตัวอย่างที่ให้ผลบวกกับการย้อมHb H inclusion พบว่ามี 28 ตัวอย่าง จาก 30 ตัวอย่าง ในกลุ่ม(+/-) และ 16 ตัวอย่างจาก 20 ตัวอย่างในกลุ่ม (+/+) ให้ผลบวกกับการตรวจยีน a0-thalassemia ด้วยวิธี PCR แต่มี 5 ตัวอย่างใน 106 ตัวอย่างที่ให้ผลลบกับการย้อม Hb H inclusion ซึ่งอยู่ในกลุ่ม OF/DCIP (+/+) พบว่า 3 ตัวอย่างเป็น heterozygous และ 2 ตัวอย่างเป็น homozygous Hb E ที่มียีนแฝง a0-thalassemia แสดงให้เห็นว่า การย้อม Hb H inclusion ไม่เหมาะสำหรับการตรวจคัดกรอง a0-thalassemia ในผู้ที่มี Hb E แต่การย้อม Hb H inclusion จะช่วยเพิ่มความจำเพาะในการตรวจคัดกรอง a0-thalassemiaในกลุ่ม OF/DCIP (+/-) โดยพบว่าสามารถลดจำนวนตัวอย่างที่จะต้องส่งตรวจยืนยันด้วยวิธี PCR ลงได้ถึงเกือบร้อยละ 50 ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา

55

56

57


ดาวน์โหลด ppt รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google