Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graphi c Design.
Advertisements

บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Chapter 6 : Video.
Chapter5:Sound (เสียง)
การแปลงขนาดไฟล์รูปภาพ เทคนิคสำคัญ!!!
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
Microsoft Office PowerPoint 2003
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ภาพนิ่ง (Still Image)
….E-Book สนุกสนาน…..
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การสร้างงานกราฟิก.
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Basic Graphics by uddee
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
แบบทดสอบ Photoshop.
Computer Graphics Image Processing 1.
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Pretest.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
Free ware (ฟรีแวร์).
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
เสริมเว็บให้ดูสวย.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
ความรู้พื้นฐานโปรแกรม Adobe Photoshop
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
ภาพนิ่ง (Still Image).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง) Ukrit Marang Mutilmedia Chpater 3

เกี่ยวกับภาพ ภาพนิ่งที่ใช้งานบนคอมฯ เกิดจาการรวมกันของจุดสี(Pixel) จุดสีอยู่คนละจุดในตำแหน่งที่เหมาะสมจะเกิดเป็นภาพ คุณภาพของการแสดงผลภาพนิ่งจะอยู่ที่ความละเอียดของภาพ และประสิทธิภาพของอุปกรณ์ Mutilmedia Chpater 3

ภาพนิ่ง “สิ่งต่างที่มองเห็นล้วนเรียกว่าภาพทั้งนั้น อาจจะเป็นภาพขาวดำหรือมีสีสัน มีลักษณะรูปร่างต่างกันออกไปโดยที่ภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหวจะเรียกว่า ภาพนิ่ง” Mutilmedia Chpater 3

ประเภทของภาพนิ่ง ภาพ 2 มิติ(2D Image) ภาพ 3 มิติ(3D Image) Vector Graphic : ลักษณะโครงสร้าง รูปทรง เรขาคณิตเช่น เส้นตรง วงกลม รูปหลายเหลี่ยม(.AI,.CDR,PDF,.WMF) Bitmap Image : ลักษณะใกล้เคียงของจริง โครงสร้างวซับซ้อนกว่า(.BMP,.GIF,.JPEG,.TIFF) ภาพ 3 มิติ(3D Image) Mutilmedia Chpater 3

Vector Graphic โครงร่างของภาพ ภาพที่ตกแต่งแล้ว Mutilmedia Chpater 3

ลักษณะเฉพาะของภาพ Vector จัดเก็บในลักษณะคำสั่งโครงสร้างทางเรขาคณิต ไฟล์มีขนาดเล็ก ปรับปรุงโครงสร้างได้แม้เป็นเส้นบางๆ ย่อ ขยายภาพได้โดยไม่สูญเสียภาพ CDR,WMF,PDF Mutilmedia Chpater 3

Bitmap Image Mutilmedia Chpater 3

ลักษณะเฉพาะของภาพ Bitmap เป็นภาพที่ประกอบรวมกันของจุดสี(Pixel) หลายจุดประกอบรวมกันเป็นภาพ ขนาดของไฟล์ขึ้นอยู่กับการบีบอัดและความละเอียดของภาพ รองรับการแสดงสีได้มากกว่า 16.7 ล้านสี(26 bit) เปลืองเนื้อที่มากกว่า Vector BMP,GIF,JPEG,PCX,PSD,TIFF Mutilmedia Chpater 3

การตัดภาพบางส่วนของภาพเมื่อขยายจะเห็นจัดสีเป็นกรอบสี่เหลี่ยมอย่างชัดเจน Mutilmedia Chpater 3

ภาพ 3D Image เป็นภาพ Vector ประเภทหนึ่ง y เป็นภาพ Vector ประเภทหนึ่ง เป็นภาพมที่มีลักษณะมุมมองเหมือนจริงในรูปทรง 3 มิติ มีพื้นฐานจากภาพ 2 มิติ(x,y) แต่เพิ่มความลึกในการสร้างภาพ(z) AutoCAD,3D Studio,Extreme 3D 2D x y 3D x z Mutilmedia Chpater 3

ความละเอียดภาพยิ่งสูง ไฟล์ก็ยิ่งใหญ่ Dpi(Dot per inch) หน่วยวัความละเอียดภาพ จำนวนจุดต่อตารางนิ้ว 6” ความละเอียด 300 dpi color=24 bit File Size =1200x1800x3 byte =6.480,000 byte =6.2 MB 4x300= 1200 pixel 4” 6x300=1800 pixel Mutilmedia Chpater 3

Color dept : ระดับความลึกสี จุดสี(Pixel) แต่ละจุดจะแสดงด้วยจำนวนบิตจำนวนหนี่งเรียกว่า “ความลึกสี (Color dept)” 1 บิตมี 2 ค่า คือ 0,1 จึงได้ 2สีเช่น ขาว ดำ 2 บิตมี 4 ค่า คือ 00,01,10,11 จึงได้ 4 สี ดังนั้นการเพิ่มขั้นอีกบิตทำให้สีเพิ่มขึ่น 2 เท่า Mutilmedia Chpater 3

256 สี 1 pixel=1 byte=8 bit---->28=256 สี Mutilmedia Chpater 3

RGB High Color 1 pixel=2 byte=16 bit---->216=65536 สี Mutilmedia Chpater 3

True Color 1 pixel=3 byte=24 bit---->224=16.78 ล้านสี Mutilmedia Chpater 3

Color Model RGB CMYK Mutilmedia Chpater 3

Bitmap(.BMP) สร้างโดย Microsoft เหมาะกับการนำไปใช้บันทึกภาพตันฉบับ ที่ต้องการเก็บรายละเอียดของภาพทั้งหมด ใช้เทคนิค RLE-Encoding ในการบีบไฟล์ได้ Mutilmedia Chpater 3

Bitmap(.BMP) ข้อดี ข้อเสีย โปรแกรมบนวินโดว์ทุกตัวสามารถเรียกใช้ได้หมด Color dept 1-24 bit(16 ล้านสี) ข้อเสีย ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก ไม่เหมาะในการนำไปใช้ในอินเตอร์เน็ต Mutilmedia Chpater 3

Togged Image File(.TIF) ใช้ได้กับหลายระบบปฏิบัติการ เหมาะกับงานคุณภาพสูง ในงานระดับมืออาชีพ สามารถตั้งค่าความลึกสีได้สูงสุดถึง 64 บิต ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก ใช้เทคนิค LZW-Encoding ในการบีบไฟล์ได้ Mutilmedia Chpater 3

Togged Image File(.TIF) ข้อดี ใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการ ความลึกสีมากถึง 64 บิต ข้อเสีย ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก ไม่เหมาะในการนำไปใช้ในอินเตอร์เน็ต Mutilmedia Chpater 3

Graphics Interchange Format(.GIF) เหมาะกับงานด้านรับส่งทางอินเตอร์เน็ต มีค่าความลึกองสีแค่ 8 บิต แสดงสีได้สูงสุด 256 สี ใช้เทคนิค LZW-Encoding ในการบีบไฟล์ โดยที่คุณภาพไม่ลดลง ไฟล์มีขนาดเล็กมาก ไม่เหมาะกับงานที่บันทึกรายละเอียดมากๆ เหมาะกับงานที่สีไม่มากนักเช่น Icon,ปุ่ม,สัญลักษณ์ Mutilmedia Chpater 3

Joint Photographic Expert Group(JPEG) เป็นอีกรูปแบบที่ได้รับความนิยม มักใช้ในอินเตอร์เน็ต ระดับความลึกของสี 24 บิต เหมาะกับการนำไปใช้บีบอัดรูปถ่าย ไม่มีปัญหากับ Browser แต่ถ้ามีขนาดไฟล์มาก ทำให้ใช้เวลาค่อนข้างนานเวลาโหลด การบีบอัดไฟล์เกิน 75 % จะทำให้คุณภาพของภาพลดลง Mutilmedia Chpater 3

เทคนิคการทำให้ภาพเล็กลง RLE(Run Length Encoding) หลักการหาจุดที่มีสีเหมือนกันและอยู่ติดกัน แล้วนำมารวมเหลือจุดเดียวและบันทึกจุดเฉพาะค่าจุดสีเดิมไว้ RLE จะตรวจสอบไฟล์ที่ละบรรทัด ทำให้ภาพที่ประกอบด้วยเส้นตามแนวนอนจะบีบได้มากกว่าเส้นแนวตั้ง LZW Encoding หลักการหาจุดที่เรียงเหมือนกันเป็นกลุ่ม(Pattern) ซึ่งกลุ่มที่พบบ่อยจะกำหนดให้เป็นโค้ดต่างๆ (มีตารางโค้ด) Mutilmedia Chpater 3

RLE : Run Length Encoding 9 3 2 2 4 5 9 2 3 6 8 4 8 4 Mutilmedia Chpater 3

LZW - Encoding c1 c2 c2 c1 c2 c2 c1 c2 c2 c1 Mutilmedia Chpater 3

Graphic Software Photoshop FreeHand สำหรับตกแต่งภาพวาด CAD IIIustrator Coreldraw Etc.. สำหรับตกแต่งภาพวาด สำหรับตกแต่งรูปภาพ สำหรับออกแบบภาพ 3D สำหรับสร้างแบบภาพจำลอง 3D สำหรับวาดภาพ Mutilmedia Chpater 3