งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Basic Graphics by uddee

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Basic Graphics by uddee"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Basic Graphics 360107 by uddee
3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ 4.ความเข้าใจในการใช้เสกล(SCALE) 5.การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิตต่างๆโดยการร่างแบบใช้เครื่องมือ Room 3506 / pm / 23 June 2004

2 3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

3 3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

4 3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

5 3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

6 4.ความเข้าใจในการใช้เสกล ( SCALE )
-ทำไมเสกลจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักออกแบบ

7 10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร
100 เซนติเมตร เท่ากับ เมตร 1000เมตร เท่ากับ กิโลเมตร 2.54เซนติเมตร เท่ากับ นิ้ว 12 นิ้ว เท่ากับ ฟุต หลา , ไมล์ , หุน , วา , ศอก , ฯลฯ

8 เสกลระบบเมตริก 1:1 1:5 1:10 1:20 1:50 1:100 1:200 1:500 เสกลแบบอังกฤษ(ประมาณ) 12”=1’-0 (1:1) 3” =1’-0 (1:4) 1.5”=1’-0 (1:8) 0.5”=1’-0 (1:24) 0.25”=1’-0 (1:48) 0.125”=1’-0 (1:96) 1” =20’ (1:240) 1” =50’ (1:600) การนำไปใช้ แบบเท่าจริง แบบรายละเอียด รูปตัดงานผนัง รูปตัดโครงสร้าง แปลนและรูปด้าน แปลนอาคาร ผังบริเวณ

9 1นิ้ว เท่ากับ 25.4มิลลิเมตร
1ฟุต เท่ากับ เมตร 1หลา เท่ากับ เมตร 1ไมล์ เท่ากับ กิโลเมตร 1ควอร์ตเท่ากับ ลิตร 1แกลลอนเท่ากับ คิวบิคเมตร 1ออนซ์เท่ากับ กรัม 1ปอนด์เท่ากับ กิโลกรัม 1แรงม้าเท่ากับ กิโลวัตต์ 1มิลลิเมตรเท่ากับ นิ้ว 1เมตรเท่ากับ ฟุต 1เมตรเท่ากับ หลา 1กิโลเมตรเท่ากับ ไมล์ 1ลิตรเท่ากับ ควอร์ต 1คิวบิคเมตรเท่ากับ แกลลอน 1กรัมเท่ากับ ออนซ์ 1กิโลกรัมเท่ากับ ปอนด์ 1กิโลวัตต์เท่ากับ แรงม้า

10 600 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต 700 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต4นิ้ว 800 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต8นิ้ว 900 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต 1000 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต4นิ้ว 1100 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต8นิ้ว 1200 มิลลิเมตรเท่ากับ4ฟุต 1500 มิลลิเมตรเท่ากับ5ฟุต 1800 มิลลิเมตรเท่ากับ6ฟุต 2คืบ เท่ากับ ศอก 4ศอกเท่ากับ วา 20วาเท่ากับ เส้น 400เส้นเท่ากับ 1โยชน์ 1วา เท่ากับ 2เมตร 1เส้น เท่ากับ 40เมตร 1 โยชน์ เท่ากับ1600เมตร 1 หุน เท่ากับ 3มิลลิเมตร

11 เสกล1ต่อ100 = 1 หน่วยที่เขียนจะใหญ่ขึ้น 100 เท่าเมื่อเป็นของจริง
เช่นเราเขียนประตูกว้าง 1 เซนติเมตร ด้วยเสกล1ต่อ100 ในแบบ จะมีขนาด 1 เมตร เมื่อเป็นขนาดของจริง ส่วนใหญ่เรามักจะใช้เสกลดังนี้ การเขียนแบบแปลนอาคาร,บ้านพักอาศัยทั่วๆไป 1 ต่อ 100 ,1 ต่อ 75, 1 ต่อ 50 การเขียนแบบแปลนสำหรับตกแต่งภายในหรือประกอบกับรูปด้านเพื่อตกแต่งภายใน 1 ต่อ 50 , 1 ต่อ 25 การเขียนแบบแปลนหรือการเขียนภาพฉายสำหรับเครื่องเรือนลอยตัว 1 ต่อ 25 , 1 ต่อ 20 , 1 ต่อ 10 การเขียนแบบขยายรายละเอียดประกอบการตกแต่ง 1 ต่อ 2 , 1 ต่อ 1(เขียนแบบเท่าจริง)

12 ตัวอย่างการเขียนแบบด้วยเสกลต่างๆ

13 5.การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิตต่างๆโดยการร่างแบบใช้เครื่องมือ
รูปร่าง (FORM) 2มิติ รูปทรง (SHAPE) 3มิติ -เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับเครื่องมือเครื่องใช้ในการเขียนแบบ -สามารถสร้างรูปร่างรูปทรงได้อย่างเข้าใจและรวดเร็ว -มักเริ่มต้นด้วยรูปร่างเรขาคณิตเบื้องต้นเช่นสามเหลี่ยม,สี่เหลี่ยม,วงกลม,วงรีแบบต่างๆ -การเขียนห้าเหลี่ยม,หกเหลี่ยม,แปดเหลี่ยมด้วยวงเวียนหรือด้วยไม้บรรทัด -การเขียนรูปทรงลูกบาศก์,ปีระมิด,ทรงกระบอก,กรงกรวย,ทรงหลายเหลี่ยมอื่นๆ -การเขียนรูปทรงกลมประกอบรูปทรงอื่นๆ

14 ตัวอย่าง

15

16

17

18

19

20

21

22


ดาวน์โหลด ppt Basic Graphics by uddee

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google