แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ว่าที่ร้อยตรี ภูวิช ชัยกรเริงเดช
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2549 “การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง” ท่านเคยได้ยินเรื่องนี้หรือไม่ ??
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ADDIE Model.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน กว่าจะเป็นห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) คณะวิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี

ก่อนอื่น... Faculty of Communication Sciences มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบคุณผู้สนับสนุนและผู้มีส่วนร่วมทำให้ virtual classroom คณะวิทยาการสื่อสารเป็นจริง สำนักวิทยบริการ โดย อาจารย์ทวี ทองคำ ผู้พัฒนาและดูแลระบบห้องเรียนเสมือน OAS : Learning Management System มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้สนับสนุนทุนการผลิตห้องเรียนเสมือน Best Practice 2005 คณะวิทยาการสื่อสาร ผู้สนับสนุนทุน เครื่องมือ และแรงจูงใจ คณาจารย์คณะวิทยาการสื่อสารทุกท่าน ผู้ลงแรงปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง Faculty of Communication Sciences

แต่ละก้าวย่างของการพัฒนา... เป้าหมายปี 2549 ร้อยละ 80 ของรายวิชาทั้งหมด จำนวนรวม ปี 2548 30 รายวิชา Best Practice 2005 จำนวนรายวิชาที่ใช้ Virtual Classroom ในการเรียนการสอน จำนวนรวม ปี 2547 23 รายวิชา จำนวนรวม ปี 2546 3 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 64 ของรายวิชาที่เปิดสอน Faculty of Communication Sciences

นี่คือตัวอย่าง...Virtual Classroom OAS : Learning Management System http://vc.pn.psu.ac.th/vc/ Best Practice 2005

Webboard สนทนา ซักถาม ส่งเสริมความสัมพันธ์ผู้เรียน ผู้สอน

Webboard ส่งเสริมบรรยากาศการมีส่วนร่วมและความเป็นประชาธิปไตย

Webboard ส่งเสริมและฝึกฝนทักษะการคิดใคร่ครวญ คิดสร้างสรรค์ คิดวิพากษ์ และสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม

สืบค้น ค้นคืน ทบทวน สะดวก ทุกที่ ทุกเวลาตามอัธยาศัย สืบค้น ค้นคืน ทบทวน สะดวก ทุกที่ ทุกเวลาตามอัธยาศัย แหล่งข้อมูล - เอกสารประกอบการสอน - presentations - แหล่งค้นคว้าออนไลน์

สะดวก ประหยัด ตรวจสอบได้ การบ้านและงานที่มอบหมาย

ประเมินและให้ความเห็นย้อนกลับงานที่มอบหมายผ่านเว็บ

ขั้นตอนการดำเนินงาน... Faculty of Communication Sciences ประเมินคุณภาพ โดยคณะกรรมการฯ และประเมินความพึงพอใจ โดยนักศึกษา ขอรับทุนสนับสนุน (กรณีรายวิชาใหม่) Best Practice 2005 อาจารย์พัฒนาและใช้ Virtual classroom ในการเรียนการสอน อาจารย์ของคณะระบุให้ การจัดทำห้องเรียนเสมือน อยู่ในขอบข่ายภาระงาน ในรอบการประเมินทุก 6 เดือน ดำเนินการจัดทำ/ปรับปรุง (กรณีไม่ขอรับทุน และเป็นวิชาที่เคยจัดทำแล้ว) Faculty of Communication Sciences

กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ... การจัดทำห้องเรียนเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานอาจารย์ และนำมาเป็นองค์ประกอบในการประเมินประสิทธิภาพการทำงาน ประจำปี มีการประเมินคุณภาพห้องเรียนเสมือนทุกภาคการศึกษา และมีประเด็นการประเมินที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพห้องเรียนเสมือน ที่แต่งตั้งโดยคณะ Best Practice 2005 สนับสนุนการจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับการใช้งาน ของอาจารย์ ในสัดส่วน 1:1 รวมทั้งส่งเสริมให้อาจารย์ได้ เข้ารับการอบรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ สนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ขอรับทุนพัฒนาห้องเรียนเสมือน จากมหาวิทยาลัย และคณะ Faculty of Communication Sciences

พัฒนาระบบและ กลไกการประเมิน ความพึงพอใจ โดยนักศึกษา แนวทางพัฒนาในอนาคต... ติดตามประเมิน รายวิชาเก่าที่ยังใช้ ในการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้อยู่ในรูปแบบ และมีปรับเนื้อหา อย่างสม่ำเสมอ ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน พัฒนาระบบและ กลไกการประเมิน ความพึงพอใจ โดยนักศึกษา พัฒนาไปสู่ ห้องเรียนเสมือน ระบบ Web-based เพื่อบริการวิชาการ ต่อสาธารณะ Best Practice 2005 Faculty of Communication Sciences

ขอขอบคุณ... Faculty of Communication Sciences คณะวิทยาการสื่อสาร คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการประเมินคุณภาพฯ สำหรับการสนับสนุนการดำเนินงาน... คณะวิทยาการสื่อสาร Best Practice 2005 Faculty of Communication Sciences