แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน กว่าจะเป็นห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) คณะวิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี
ก่อนอื่น... Faculty of Communication Sciences มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบคุณผู้สนับสนุนและผู้มีส่วนร่วมทำให้ virtual classroom คณะวิทยาการสื่อสารเป็นจริง สำนักวิทยบริการ โดย อาจารย์ทวี ทองคำ ผู้พัฒนาและดูแลระบบห้องเรียนเสมือน OAS : Learning Management System มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้สนับสนุนทุนการผลิตห้องเรียนเสมือน Best Practice 2005 คณะวิทยาการสื่อสาร ผู้สนับสนุนทุน เครื่องมือ และแรงจูงใจ คณาจารย์คณะวิทยาการสื่อสารทุกท่าน ผู้ลงแรงปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง Faculty of Communication Sciences
แต่ละก้าวย่างของการพัฒนา... เป้าหมายปี 2549 ร้อยละ 80 ของรายวิชาทั้งหมด จำนวนรวม ปี 2548 30 รายวิชา Best Practice 2005 จำนวนรายวิชาที่ใช้ Virtual Classroom ในการเรียนการสอน จำนวนรวม ปี 2547 23 รายวิชา จำนวนรวม ปี 2546 3 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 64 ของรายวิชาที่เปิดสอน Faculty of Communication Sciences
นี่คือตัวอย่าง...Virtual Classroom OAS : Learning Management System http://vc.pn.psu.ac.th/vc/ Best Practice 2005
Webboard สนทนา ซักถาม ส่งเสริมความสัมพันธ์ผู้เรียน ผู้สอน
Webboard ส่งเสริมบรรยากาศการมีส่วนร่วมและความเป็นประชาธิปไตย
Webboard ส่งเสริมและฝึกฝนทักษะการคิดใคร่ครวญ คิดสร้างสรรค์ คิดวิพากษ์ และสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
สืบค้น ค้นคืน ทบทวน สะดวก ทุกที่ ทุกเวลาตามอัธยาศัย สืบค้น ค้นคืน ทบทวน สะดวก ทุกที่ ทุกเวลาตามอัธยาศัย แหล่งข้อมูล - เอกสารประกอบการสอน - presentations - แหล่งค้นคว้าออนไลน์
สะดวก ประหยัด ตรวจสอบได้ การบ้านและงานที่มอบหมาย
ประเมินและให้ความเห็นย้อนกลับงานที่มอบหมายผ่านเว็บ
ขั้นตอนการดำเนินงาน... Faculty of Communication Sciences ประเมินคุณภาพ โดยคณะกรรมการฯ และประเมินความพึงพอใจ โดยนักศึกษา ขอรับทุนสนับสนุน (กรณีรายวิชาใหม่) Best Practice 2005 อาจารย์พัฒนาและใช้ Virtual classroom ในการเรียนการสอน อาจารย์ของคณะระบุให้ การจัดทำห้องเรียนเสมือน อยู่ในขอบข่ายภาระงาน ในรอบการประเมินทุก 6 เดือน ดำเนินการจัดทำ/ปรับปรุง (กรณีไม่ขอรับทุน และเป็นวิชาที่เคยจัดทำแล้ว) Faculty of Communication Sciences
กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ... การจัดทำห้องเรียนเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานอาจารย์ และนำมาเป็นองค์ประกอบในการประเมินประสิทธิภาพการทำงาน ประจำปี มีการประเมินคุณภาพห้องเรียนเสมือนทุกภาคการศึกษา และมีประเด็นการประเมินที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพห้องเรียนเสมือน ที่แต่งตั้งโดยคณะ Best Practice 2005 สนับสนุนการจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับการใช้งาน ของอาจารย์ ในสัดส่วน 1:1 รวมทั้งส่งเสริมให้อาจารย์ได้ เข้ารับการอบรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ สนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ขอรับทุนพัฒนาห้องเรียนเสมือน จากมหาวิทยาลัย และคณะ Faculty of Communication Sciences
พัฒนาระบบและ กลไกการประเมิน ความพึงพอใจ โดยนักศึกษา แนวทางพัฒนาในอนาคต... ติดตามประเมิน รายวิชาเก่าที่ยังใช้ ในการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้อยู่ในรูปแบบ และมีปรับเนื้อหา อย่างสม่ำเสมอ ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน พัฒนาระบบและ กลไกการประเมิน ความพึงพอใจ โดยนักศึกษา พัฒนาไปสู่ ห้องเรียนเสมือน ระบบ Web-based เพื่อบริการวิชาการ ต่อสาธารณะ Best Practice 2005 Faculty of Communication Sciences
ขอขอบคุณ... Faculty of Communication Sciences คณะวิทยาการสื่อสาร คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการประเมินคุณภาพฯ สำหรับการสนับสนุนการดำเนินงาน... คณะวิทยาการสื่อสาร Best Practice 2005 Faculty of Communication Sciences