E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง เปิดโลกสังคมออนไลน์
Advertisements

แนะนำการใช้งานระบบ คลิก เข้าเรียน
Getting Started with e-Learning
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
E-Learning.
ICT & LEARN.
โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
โรงเรียนบ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงงาน : เพื่อสื่อการสอนเรื่องระบบสัทอักษรจีน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
สรุปการดำเนินงานด้าน ICT โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา
ฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนาสื่อสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
ระบบอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต
ควรมีอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ลำโพง , หูฟัง เนื่องจากมีการบรรยายประกอบสไลด์
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
การประยุกต์ใช้งานระบบการจัดการเนื้อหาเว็บและแนวโน้มในอนาคต
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้ Google App เพื่อสร้างเครือข่าย
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลการดำเนินงาน ศูนย์ สารสนเทศ ปีงบประมาณ 2554.
ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
เรื่อง ความรู้ไร้พรมแดน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
ประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนา ICT ผู้บริหารเพื่อ การศึกษา.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
ประโยชน์และข้อจำกัด Social Media
ADDIE Model.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Social Network.
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
E-learning.
Social Media.
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อ สื่อสารที่ทันสมัย อาทิเช่น E-mail, Web-board, Chat

E-learning E-learning เป็นการเรียนสำหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)

องค์ประกอบของ E-learning เนื้อหาของบทเรียน(Content) ระบบบริหารการเรียน(Learning Management System) ระบบการติดต่อสื่อสาร(Communications) การสอบและการวัดผลการเรียน(Examination & Evaluation)

ประโยชน์จาก E-learning

การนำ E-learning ไปใช้งาน อบรมและพัฒนาบุคลากร เสริมการเรียนการสอนให้เข้าสู่ระบบให้มากขึ้น เรียนรู้ด้วยตัวเอง

ตัวอย่างเว็บไซต์ www.webct.com www.learningthai.com www.ram.edu www.learn.in.th www.thai2learn.com