โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อตอบสนองด้านต่างๆในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพที่สูงสุด

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน คณะผู้จัดทำมีความสนใจที่จะเผยแพร่การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้ถูกต้องเกิดประโยชน์ และประสิทธิภาพต่อผู้เรียนมากที่สุด เพื่อ แก้ปัญหาในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไป ใช้ได้อย่างถูกต้องและเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา ศักยภาพของตนเองในระดับพื้นฐานต่อไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อตอบสนองด้านต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพที่ สูงสุด 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียน กับหลังเรียน ของผู้ที่เรียนด้วยบทเรียนที่คณะผู้จัดทำได้ พัฒนาขึ้น 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บทเรียนที่คณะผู้จัดทำได้ พัฒนาขึ้น

สมติฐานของโครงงาน 1.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 80/80 2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ 80 3.ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนที่คณะผู้จัดทำได้พัฒนาขึ้นมีความ พึงพอใจในระดับมาก หรือมากกว่า 3.00 ขึ้นไป

ขอบเขตของการทำโครงงาน 1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพิ่ม ลบ แก้ไขและบันทึกข้อมูลได้ 2 ระบบสามารถประมวลผลรายการต่างๆได้ 3 สามารถทำแบทดสอบได้

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตของการทำโครงงาน(ต่อ) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง: นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย ห้อง ม.3/10 จานวน 45 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วย วิธีเจาะจง

หลักการทฤษฏีและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง 1. สื่อการสอน ทั้งด้านการเลือก / การผลิต การสร้างหรือ การ พัฒนา /การใช้ 2.ทฤษฏีการทำสื่อการสอนหลักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในชีวิตประจำวัน 3. ทฤษฏีบทเรียนสำเร็จรูปหรือ CAI 4. วิธีการหาประสิทธิภาพของสื่อชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. การประเมินผลและหลักการของสถิติที่นามาใช้

กรอบแนวคิดในการทำโครงงาน ตัวแปรอิสระ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนด้วยชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

วิธีดำเนินการ 1. ศึกษาปัญหาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาปัญหาและเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่าปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการที่ผู้เรียนยังไม่รอบรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มากพอดังนั้นจึงใช้การแก้ปัญหาด้วยวิธี พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

2.แผนกำหนดเวลาการทำโครงงาน วิธีดำเนินการ (ต่อ) 2.แผนกำหนดเวลาการทำโครงงาน ขั้นตอนการดาเนินงาน 2557 2558 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 2. วิเคราะห์ 3. ออกแบบ 4. พัฒนาและทดสอบ 5. นำไปใช้ 6. จัดทำเอกสารและคู่มือการใช้งาน

วิธีดำเนินการ (ต่อ) 3. การกำหนดกลุ่มประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ประชากร:นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล6นคร เชียงราย จำนวน 650 คน กลุ่มตัวอย่าง:นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล6 นครเชียงราย ห้อง ม.3/10 จานวน 45 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วย วิธีเจาะจง

วิธีดำเนินการ (ต่อ) 4. การสร้างเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการทำโครงงานครั้งนี้มี 3 อย่างดังนี้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญถึงความสอดคล้องของรูปแบบด้วยสถิติ IOC แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนกลุ่มตัวอย่างวิเคราะห์ผลด้วยสถิติ X, SD

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้สื่อการเรียนการสอนที่ประสิทธิภาพ สามารถเข้าใจได้ อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ 2. สามารถนำไปใช้เป็นตัวอย่างประกอบในรายวิชาอื่นได้อย่าง มีประสิทธิผล 3.สามารถนำไปศึกษาเผยแพร่ต่อได้ 4.มีประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

จัดทำโดย นางสาวเพ็ญนภา ราชไมตรี รหัสนักศึกษา 5541120074 นางสาวเพ็ญนภา ราชไมตรี รหัสนักศึกษา 5541120074 นางสาวศศินา อรอินทร์ รหัสนักศึกษา 5541120103 นางสาวณภัค แสงสว่าง รหัสนักศึกษา 5541120115