การขับเคลื่อนการทำงาน ด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ :จากชุมชนสู่ส่วนกลาง (จากส่วนกลางลงมาชุมชน) อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล อนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ อนุกรรมการบูรณาการกฎหมาย นโยบายสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ภายใต้กรรมการสื่อปลอดภัยสร้างสรรค์ แห่งชาติ
แนวคิดพื้นฐานงานด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๑. แนวคิดพื้นฐานงานด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
อะไรคือสื่อปลอดภัย สร้างสรรค์ ??? ไม่ขัดหรือละเมิดต่อกฎหมาย (ป.อาญา พรบ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ ๒๕๕๑ พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอม ๒๕๕๐ พรบ.ประกอบกิจการ ๒๕๕๑ ร่าง พรบ.ปราบปรามวัตถุยั่วยุพฤติกรรมอันตราย) ปลอดภัย สร้างสรรค์ สื่อบุคคล ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ สื่อเก่า สื่อใหม่ พัฒนาทักษะในชีวิตจริงเน้นการมีส่วนร่วม
แนวคิดพื้นฐานในการทำงานทั้งระบบ (๔) กลไกเชิงโครงสร้างที่ยั่งยืน (๑) ปราบปรามสื่อที่ไม่ปลอดภัย เป็นภัยต่อสังคมไทย (๒) ป้องกัน คุ้มครอง สื่อให้เข้าถึงวัยที่เหมาะสมกับผู้รับสื่อ (๓) ส่งเสริมการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ (๕) การมีส่วนร่วมของประชาชน
ยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน ๒. ยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ในการทำงานด้านสื่อปลอดภัยสร้างสรรค์ในระดับชาติ (๑) การสนับสนุนการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (๒) การสร้างเสริมวัฒนธรรมการบริโภคสื่ออย่างเหมาะสม (๓) การกำหนดโครงสร้างการบริหารจัดการสื่อ (๔) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตระหนัก (๕) การบังคับใช้กฎหมาย อนุจังหวัด อนุยุทธศาสตร์ อนุกองทุน อนุปราบปราม อนุศูนย์ปฏิบัติการ อนุพัฒนากฎหมาย
ยุทธศาสตร์ในการทำงานด้านสื่อปลอดภัยสร้างสรรค์ในระดับชาติ (๑) การสนับสนุนการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (๒) การสร้างเสริมวัฒนธรรมการบริโภคสื่ออย่างเหมาะสม (๓) การกำหนดโครงสร้างการบริหารจัดการสื่อ (๔) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตระหนัก (๕) การบังคับใช้กฎหมาย แผนแม่บทด้านสื่อปลอดภัยสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ ระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ ระดับภูมิภาค ยุทธศาสตร์ ระดับชาติ อนุจังหวัด กรรมการสื่อฯ อนุยุทธศาสตร์
มีการขับเคลื่อนอะไรไปบ้าง ? การเตรียมโครงสร้างเพื่อพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองทุนสื่อสร้างสรรค์ ศูนย์รับเรื่อง ๑๗๖๕ การปฏิรูปกฎหมายสื่อ การคุ้มครองผู้บริโภคสื่อ แผนแม่บท อนุจังหวัด การสร้าง รวบรวม ตัวอย่างความสำเร็จ
ข้อเสนอต่อคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ๓. ข้อเสนอต่อคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด
เป้าหมายคือ จัดทำมหกรรมสื่อสร้างสรรค์ และถอดบทเรียนเป็น ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท ประชุมคณะทำงานเพื่อสำรวจสถานการณ์และกำหนดเป้าหมาย กำหนดลำดับความสำคัญ และ กำหนดวิธีการในการทำงาน จัดเวทีประเมินสถานการณ์ และเวทีค้นหาต้นแบบใน ๕ ประเด็น จากเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อจัดทำโครงสร้างระยะยาว จัดทำมหกรรม และ ถอดบทเรียนเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ สร้างใหม่ หรือ ค้นหาตัวอย่างเดิม สร้างห้องประชุมวงเล็ก และ ห้องเรียนย่อย เครือข่าย
วิธีการในการทำงาน ร่วมกำหนดเป้าหมายร่วมกันของเครือข่าย ในพื้นที่ จัดทำ “มหกรรมสื่อสร้างสรรค์” ระดับพื้นที่ “ยุทธศาสตร์” ด้านสื่อปลอดภัย สร้างสรรค์ ต้นแบบ “แผนแม่บทต้นแบบ” ที่มีตัวอย่างความสำเร็จ จริง การเตรียมการเพื่อจัดทำกิจกรรมมหกรรม สื่อสร้างสรรค์ ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง สำรวจสถานการณ์ และ กำหนดเป้าหมายร่วมกัน กำหนดประเด็นในการทำงาน (ค้นหา หรือ สร้างใหม่) ค้นหาต้นแบบในประเด็นหลักทั้ง ๕ เรื่อง ค้นหาต้นทุน และ เครือข่าย เพื่อจัดทำ โครงสร้างในการสนับสนุนต้นแบบ ชวนต้นแบบมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือใช้ ต้นทุนจากที่อื่น) สรุปผล ต้นแบบ กลไก เพื่อเตรียมงาน มหกรรม
ข้อเสนอในการทำงานในพื้นที่ระดับจังหวัด จัดการฐานข้อมูล การสนับสนุนทุน อื่นๆ เครือข่ายเฝ้าระวัง ใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ สวนสาธารณะ ผลิตโดยเด็กกับชุมชน เท่าทัน ร้านเกม กำกับ ส่งเสริม แนวร่วมเพื่อสังคม สื่อชุมชน ส่งเสริมสื่อ สร้างสรรค์ วัฒนธรรม ในเด็ก เยาวชน ครอบครัว พื้นที่ การมี ส่วนร่วม CSR ค้นหาต้นแบบ สนับสนุนต้นแบบ ขยายผลต้นแบบไปสู่การกระจาย พัฒนากลไกโครงสร้างโดยชุมชน สรุปผลและสร้างยุทธศาสตร์ ถอดความรู้ต้นแบบ สื่อ กลไก ยุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วม แนวคิดพื้นฐานในการทำงานในรายละเอียด / กำหนดเป้าหมาย