งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
อนามัยวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

2 แผนงานโครงการ ปีงบประมาณ 2561
แผนงานโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้ปกครอง เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 1 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน เสริมสร้างความรอบรู้การส่งเสริมสุขภาพ SMART YOUTH 2 โครงการสร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาภาคีเครือข่าย วัยอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและเยาวชน และส่งเสริมการจัดบริการที่เป็นมิตร ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 3 4 กิจกรรมรณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับกิจกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังประเมินรับรองโรงพยาบาลและภาคีเครือข่ายตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 5 กิจกรรมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแบบบูรณาการ 6

3 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 1 กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้ปกครอง เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 2 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน เสริมสร้างความรอบรู้การส่งเสริมสุขภาพ SMART YOUTH ดำเนินการในพื้นที่นำร่องจำนวน 3 รุ่นจังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดนครพนม และจังหวัดบึงกาฬ รวม 160 คน ดำเนินการในพื้นที่นำร่องจำนวน 2 จังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดบึงกาฬ รวม 167 คน N E S S S T SMART YOUTH

4 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 3 กิจกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559

5 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 4 กิจกรรมรณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับมหกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต 5 กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังประเมินรับรองโรงพยาบาลและภาคีเครือข่ายตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ รณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับงานอนามัยแม่และเด็ก จัดมหกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ปี 2561 ขับเคลื่อน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS เพิ่ม 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอวังยาง จังหวัดนครพนม และ อําเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี

6 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 6 กิจกรรมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแบบบูรณาการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตสุขภาพที่ 8 ร่วมสมัครเป็นแหล่งเรียนรู้การดำเนินงานการป้องการและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น จำนวน 80 แห่ง

7 (อนามัยการเจริญพันธุ์)
ผลการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2561 (อนามัยการเจริญพันธุ์) เขตสุขภาพที่ 8 100% 1.07 : 1000 อัตราการคลอดในวัยรุ่นหญิงอายุ ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) จังหวัดในเขตสุขภาพ ดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 96.55% อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 34.94 : 1000 อัตราการคลอดในวัยรุ่นหญิงอายุ ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) 90.91% 3 รุ่น 167 คน คลินิก YFHS SMART YOUTH 160 ครอบครัว 14.94 % อัตราการคลอดซ้ำในหญิงวัยรุ่นอายุต่ำกว่า20ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 4 แห่ง แหล่งเรียนรู้ การป้องการและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น

8 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความท้าทาย - ปัญหาอุปสรรค
ผลการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2561 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1 ปัจจัยเชิงนโยบาย การมีกฎหมาย และตัวชี้วัดระดับกระทรวง กรม ที่ถ่ายทอดมาสู่ระดับเขต จังหวัดที่ชัดเจน 2 มีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างอย่างต่อเนื่อง 3 การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างภาคีเครือข่าย และสนับสนุนการทำงานร่วมกันอย่างไร้รอยต่อ ความท้าทาย - ปัญหาอุปสรรค ปัญหาในการดำเนินงานมีความแตกต่างและหลากหลายในแต่ละจังหวัด การจัดการข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ปัญหายังไม่ครอบคลุม การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในกลุ่มอนามัยวัยรุ่น เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของภาคีเครือข่าย (ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และความท้าทาย-ปัญหาอุปสรรค)

9 โครงการสร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาภาคี เครือข่าย วัยอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและ เยาวชน และส่งเสริมการจัดบริการที่เป็นมิตร ปีงบประมาณ (งบประมาณ 754,210 บาท) กิจกรรมดำเนินการ เป้าหมาย งบประมาณ 1. เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองตามมาตรฐาน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS อำเภอที่ยังไม่ผ่าน(3อำเภอ) 6,540 2. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ การดำเนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 สสจ.7 แห่งๆละ 1 คน, อปท.ที่ผ่านการคัดเลือก 7 แห่งๆละ 1 คน, วิทยากร 4 คน, ผู้จัดประชุม 5 คน รวมทั้งสิ้น 23 คน 50,420 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 สสจ. 7 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 7 คน, รพ. 44 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 44 คน, รร. 44 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 44 คน, อปท. 87 แห่งๆละ 1 คน รวม 87 คน, วิทยากรบรรยาย 2 คน, วิทยากรกลุ่ม DHA และ YFHS 5 คน, วิทยากรกลุ่ม อปท. 5 คน, ผู้จัด 10 คน รวม 204 คน 299,580 4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการระดับจังหวัดๆ ละ 23 คน จัดประชุม 2 ครั้ง/ปี/จังหวัด รวม 14 ครั้ง 80,180 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น สสจ แห่งละ 1 คน รวม 7 คน, รพ. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, สสอ. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, รพ.สต. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, วิทยากร 3 คน, คณะผู้จัดการประชุม 8 รวม 39 คน 76,940

10 จบการนำเสนอ “ขอบคุณครับ”

11 ใบงานที่ 1 แผนกิจกรรมโครงการ ปี 2562
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี ปีงบประมาณ 2562 กิจกรรม งบประมาณ ความสอดคล้องกับโครงการสำคัญ/ตัวชี้วัด/Key activity หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1. เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองตามมาตรฐาน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS 6,540 3 อำเภอ สสจ.อุดรธานี, ศอ8 2. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ การดำเนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 50,420 7 แหล่งเรียนรู้ สสจ. 7 จังหวัด, ศอ8 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 299,580 204 คน 4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด 80,180 14 ครั้ง 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น 76,940 39 คน สสจ. 7 จังหวัด, สสอ 7 แห่ง(นำร่อง), รพ.สต. 7 แห่ง(นำร่อง), ศอ8


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google