งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ระดับความสำเร็จของพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง พัฒนาการพบสงสัยล่าช้า ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

2 แนวทางการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.2 แนวทางประเมินให้คะแนน
ระดับความสำเร็จของพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง พัฒนาการพบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 20 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม ร้อยละ 90 หน่วยงานรับการประเมิน ส่วนกลาง: สำนักส่งเสริมฯ , สถาบันฯ , กองกิจฯ สำนักทันตะฯ , สำนักอนามัยผู้สูงอายุ ส่วนภูมิภาค : ศูนย์อนามัยที่ สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รูปแบบประเมินตัวชี้วัดแบบ ผสม ผสาน (Hybrid) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน แนวทางประเมินให้คะแนน 1 Process 2 ยึดกรอบแนวทางการประเมิน กพร. 3 4 Output / Outcome - ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจาก HDC 5 รวม

3 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 -วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการ/แผนการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน (Action plan) (0.5 คะแนน) - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานอย่างน้อยย้อนหลัง ปี -รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน -แผนปฏิบัติการ/แผนการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน 2 - มีนโยบาย หรือ มาตรการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย (0.6 คะแนน) - มี Key Message และเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อ สร้าง HL ปชช. /จนท. สื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ ของหน่วยงาน(0.4 คะแนน) -นโยบายหรือมาตรการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย - Key Message และ ช่องทางการสื่อสาร -มีแนวทางการดำเนินงานในการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติฯ

4 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 - ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานระดับประเทศ (0.3 คะแนน) -ขับเคลื่อนมาตรการ กำกับ ติดตาม สนับสนุน โดยใช้เครื่องมือ/แนวทาง/กระบวนงานที่ออกแบบในขั้นตอนที่ 1, 2 ในการปรับปรุงคุณภาพ/พัฒนา กระบวนงานเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในประเด็นปัญหาที่วิเคราะห์ร่วมกับภาคีเครือข่าย (0.4 คะแนน) - สนับสนุนวิชาการและเทคนิคการดำเนินงาน เช่นคู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรม/พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ (0.3 คะแนน) 1 -รายงานการดำเนินงานฯ - การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ฯ - คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรม/พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ - มีสรุปรายงานในการสร้างเครือข่าย สร้างการรับรู้เกี่ยวกับเรื่องพระราชบัญญัติฯ - มีการรายงานการออกตรวจการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติฯ

5 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 4 1. เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ 22 (0.4 ) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 คะแนน 0.32 0.34 0.36 0.38 0.40 ร้อยละ 18 20 22 24 26

6 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12
เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารฯ 4 2. ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 แยกตามรายเขต (0.3 คะแนน) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 ค่าคะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ ลดลง 2 ลดลง 1 baseline เพิ่มขึ้น 1 เพิ่มขึ้น 2 ศอ.1 47.33 47.82 48.3 48.78 49.27 ศอ.2 50.46 50.98 51.49 52.00 52.52 ศอ.3 63.35 63.99 64.64 65.29 65.93 ศอ.4 48.80 49.30 49.8 50.30 50.80 ศอ.5 52.17 52.70 53.23 53.76 54.29 ศอ.6 46.30 46.77 47.24 47.71 48.18 ศอ.7 61.99 62.62 63.25 63.88 64.52 ศอ.8 39.66 40.07 40.47 40.87 41.28 ศอ.9 68.67 69.37 70.07 70.77 71.47 ศอ.10 49.97 50.48 50.99 51.50 52.01 ศอ.11 40.43 40.84 41.25 41.66 42.08 ศอ.12 38.90 39.29 39.69 40.09 40.48

7 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12
เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารฯ 4 3. เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 (0.3 ) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 ค่าคะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ ลดลง 1.5 ลดลง 0.75 baseline เพิ่มขึ้น 0.75 เพิ่มขึ้น 1.5 ศอ.1 43.2 44.0 44.7 45.5 46.2 ศอ.2 46.3 47.1 47.8 48.6 49.3 ศอ.3 47.3 48.1 48.8 49.6 50.3 ศอ.4 50.2 50.9 51.7 52.4 53.2 ศอ.5 50.1 50.8 51.6 52.3 53.1 ศอ.6 53.8 54.6 ศอ.7 51.0 52.5 54.0 ศอ.8 49.1 49.9 50.6 51.4 52.1 ศอ.9 49.4 ศอ.10 52.9 ศอ.11 52.2 53.7 54.4 55.2 ศอ.12 51.1 51.8

8 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา
เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 5 1. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการอย่างน้อยร้อยละ 80(0.30) 2. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบสงสัยล่าช้าร้อยละ 20 (0.3) 3. เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามอย่าง น้อยร้อยละ 80 (0.40) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 คะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ 76 78 80 82 84 คะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ 16 18 20 22 24 คะแนน 0.32 0.34 0.36 0.38 0.40 ร้อยละ 76 78 80 82 84

9 เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 - วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO

10 เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 2 - มีนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่นในการขับเคลื่อนงานด้านส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยในคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.5 คะแนน) - มี Key Message และเนื้อหาด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อสร้างและส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ HL แก่ประชาชนและบุคลากรคลินิกชุมชนอบอุ่น โดยการสื่อสาร /แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านช่องทางต่างๆ ของคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.3 คะแนน) - มีการดำเนินงานในการเฝู้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ในคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.2 คะแนน) 1 - นโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น - Key Message และ ช่องทางการสื่อสาร - มีแนวทางการดำเนินงานในการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560

11 เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 - ถ่ายทอด/ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่นอย่างน้อยร้อยละ50 (84แห่ง) (0.3 คะแนน) - ขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก (HLO) รวมถึง กำกับ ติดตาม สนับสนุน การดำเนินงานด้านส่งเสริมพัฒนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพ (0.4 คะแนน) - สนับสนุนวิชาการ ได้แก่ คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร ผ่านช่องทางต่างๆ 1 -รายงานการดำเนินงานนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโต -รายงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก -มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย

12 เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา
รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 4 เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการที่หน่วยบริการสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้รับการคัดกรองพัฒนาการครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 1 - ฐานข้อมูลสารสนเทศ เดือนตุลาคม 2561 ถึงกุมภาพันธ์ 2562 5 เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการที่หน่วยบริการสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้รับการคัดกรองพัฒนาการครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 คะแนน 0.10 0.20 0.50 0.70 1.00 ร้อยละ 43 46 49 52 55 คะแนน 0.10 0.20 0.50 0.70 1.00 ร้อยละ 48 51 54 57 60

13 เอกสารประกอบการพิจารณา
เกณฑ์การประเมิน รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 - วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO

14 งานพัฒนาการเด็กจะบรรลุผลดี ขออย่าดูเพียง ตชว.สมวัย..ครับ


ดาวน์โหลด ppt สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google