งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551 (กองอนามัยการเจริญพันธุ์) โดยนายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง ผอก.กองอนามัยการเจริญพันธุ์

2 วัฒนธรรมร่วมในองค์กร พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่กลยุทธ์ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551 – กองอนามัยการเจริญพันธุ์ วิสัยทัศน์ : เด็กและเยาวชนไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ : เด็กและเยาวชนมีความรู้ เจตคติและสามารถป้องกันตัวเองจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ R1 : ผลลัพธ์ประสิทธิผล Results R4 : ผลลัพธ์ด้านการพัฒนา R2 : ผลลัพธ์ด้านคุณภาพ R3 : ผลลัพธ์ประสิทธิภาพ ภาคีเครือข่ายสามารถ ให้บริการวัยรุ่นและเยาวชน อย่างมีคุณภาพ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ภาคีเครือข่าย/วัยรุ่นและเยาวชน) พัฒนาองค์กรที่มีสมรรถนะสูง S1 S2 S3 S4 S5 System เสริมสร้างความเข้มแข็งของ พันธมิตรภาคีเครือข่าย ผลิตพัฒนาและถ่ายทอด องค์ความรู้เทคโนโลยี และนวัตกรรม สร้างกระแสสังคมและ สื่อสาธารณะ พัฒนาระบบบริหารจัดการ และการเฝ้าระวัง พัฒนา ผลักดันและแก้ไข กฎหมาย ระเบียบและ นโยบายที่เกี่ยวข้อง D1 D2 Driver D3 วางแผนและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล สร้างค่านิยมและ วัฒนธรรมร่วมในองค์กร พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและฐานข้อมูลเพื่อการปฏิบัติ

3 อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
แนวทางการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น โครงการ กลยุทธ์ พฤติกรรม เป้าหมาย โครงการ/โปรแกรม เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านSE/RH สร้างกระแสสังคมและสื่อสาธารณะ พัฒนาระบบการเฝ้าระวังและประเมินผล พัฒนา ผลักดัน แก้ไข กฎ/ ระเบียบ/นโยบาย ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย - ลดการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร -ลดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย -ลดการ ตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

4 กลยุทธ์/โครงการ แนวทางการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอื่นๆ ในวัยรุ่น
ก.ศธ,พม, วธ,มท,NGOฯ เป้าหมาย กลยุทธ์/โครงการ 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย สถานบริการ มหาวิทยาลัย เครือข่ายระดับจังหวัด สภาเด็กและเยาวชน 2) ผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านSE/RH เพิ่มพูนความรู้RHแก่กลุ่มเป้าหมายพิเศษ พัฒนาสื่อ/เว็บไซต์/ชุดนิทรรศการ/สิ่งพิมพ์ - ลดการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร -ลดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย -ลดการ ตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

5 กลยุทธ์/โครงการ แนวทางการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอื่นๆ ในวัยรุ่น
ก.ศธ,พม, วธ,มท,NGOฯ เป้าหมาย กลยุทธ์/โครงการ 3) สร้างกระแสสังคมและสื่อสาธารณะ สัมมนาสื่อมวลชน ประชุมเรื่อง “การสื่อสารเพื่อพัฒนางานด้านRH” 4) พัฒนาระบบการเฝ้าระวังและประเมินผล ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมRHของวัยรุ่น ระบบเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 5) พัฒนา ผลักดัน แก้ไข กฎ/ ระเบียบ/นโยบาย ประชุมคณะกรรมการพัฒนางานRHแห่งชาติ คณะทำงานด้านRHในคณะอนุกรรมการฯตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ - ลดการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร -ลดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย -ลดการ ตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

6 ผลการดำเนินงานปี 2551

7 ผลการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
เสริมสร้างความเข้มแข็งของพันธมิตรภาคีเครือข่าย โครงการ เป้าหมาย ผลงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของสภาเด็กและ เยาวชนด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 20 จว. -ภาคีเครือข่าย มีความรู้ด้านRH มีงบประมาณ สนับสนุนจาก พื้นที่ -แกนนำมีส่วน ร่วมในการทำ พัฒนาหลักหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์ ในระดับปริญญาตรี 9 แห่ง 10 แห่ง -ม. ตระหนักถึงปัญหาRH -มีModelต้นแบบ

8 ผลการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
เสริมสร้างความเข้มแข็งของพันธมิตรภาคีเครือข่าย โครงการ เป้าหมาย ผลงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดในการพัฒนาสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 1 จว. -ผู้บริหารเห็นความสำคัญ -มีการบูรณาการแผนจากทุกภาคส่วนของจังหวัด

9 โครงการ 21 แห่ง 1 ครั้ง 200 คน 255 คน
ผลิตพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีและวัตกรรม โครงการ เป้าหมาย ผลงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ พัฒนาบริการสุขภาพและอนามัย การเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น 21 แห่ง ความร่วมมือของศูนย์อนามัย(ประสาน/นิเทศ/ติดตาม) พัฒนาการเรียนการสอนเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ์ (จัดประชุมเครือข่าย) 1 ครั้ง เพิ่มพูนความรู้เรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ให้แก่เยาวชนในสถานสงเคราะห์ 200 คน 255 คน

10 พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเฝ้าระวัง โครงการ
เป้าหมาย ผลงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การเฝ้าระวังพฤติกรรมRHของวัยรุ่นในสถานศึกษา 1เรื่อง 1 เรื่อง พัฒนาระบบการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น

11 พัฒนาผลักดันและแก้ไขกฎหมาย ระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
โครงการ เป้าหมาย ผลงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ จัดประชุมคณะทำงานหาแนวทางการพัฒนากฎหมายอนามัยการเจริญพันธุ์ - 1 ครั้ง จัดประชุมคณะทำงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในคณะอนุกรรมการยกร่าง สาระสำคัญตาม พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 4 ครั้ง

12 ประเมินผลโครงการพัฒนาหลักสูตร อนามัยการเจริญพันธุ์ระดับปริญญาตรี
การดำเนินงานปี 2552 ประเมินผลโครงการพัฒนาหลักสูตร อนามัยการเจริญพันธุ์ระดับปริญญาตรี 2. ขยายพื้นที่ ภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดในการพัฒนาแผนRHในวัยรุ่น (3 จังหวัด)

13 การดำเนินงานปี 2552 3. พัฒนาการเรียนการสอนเพศศึกษาและRH 4
การดำเนินงานปี พัฒนาการเรียนการสอนเพศศึกษาและRH 4. ขยายสถานบริการวัยรุ่น (เต็มพื้นที่ 3 จังหวัด มหาสารคาม ระยอง สุพรรณบุรี) 5. รณรงค์การคุมกำเนิดในวัยรุ่นเช่นโครงการรักนี้คุมได้ 6. จัดทำ National Standard เกี่ยวกับ Adolescents Friendly Health Services

14 การดำเนินงานปี 2552 7. ศึกษาวิจัย 3 เรื่อง
7. ศึกษาวิจัย 3 เรื่อง -โครงการประเมินผลการดำเนินงานตามชุดสิทธิ ประโยชน์สำหรับกลุ่มวัยรุ่น - โครงการศึกษารูปแบบการพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์วัยรุ่นของสถานีอนามัย - โครงการส่งเสริมการจัดบริการคุณภาพ สำหรับแม่วัยรุ่น 8. พัฒนาระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมRHในวัยรุ่นนอกและใน สถานศึกษา/

15 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google