งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
(ตัวชี้วัดศูนย์อนามัยที่ 1-12) เจ้าภาพ : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1

2 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดที่ 1.3 จำนวนของรพ.สป.ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้รพ.จัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข : รพช. รพ.สมเด็จพระยุพราช รพ.ทั่วไป และรพ.ศูนย์ ที่เข้าร่วมโครงการ และผ่านการอบรมเพื่อการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น มีจำนวน 855 แห่ง โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ : รพ.มีการจัดบริการ “คลินิกวัยรุ่น” ตามองค์ประกอบของมาตรฐาน องค์ประกอบ คือ 1)การบริหารจัดการ 2)การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บริการ 3) บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4)ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น และผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 2 ในทุกองค์ประกอบ 2 2

3 มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ
องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เริ่มจากปีพ.ศ กรมอนามัยได้จัดทำโครงการพัฒนาบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ นำแนวคิดของ Adolescent Friendly Health Services (AFHS) ตามแนวทางของWHO และนำไปให้โรงพยาบาลศูนย์ รพท.และรพช.และ รพ.สังกัดกรมอนามัยรวม 12 แห่ง ทดลองใช้และขยายการใช้ต่อภายใต้โครงการวัยเรียนวัยใสอนามัย ดี๊ ดี ที่เป็นการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ อนามัยการเจริญพันธุ์ ทันตสุขภาพ และโภชนาการ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)สนับสนุนงบประมาณ ปี2552 การจัดทำมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS ) ที่ได้รับความร่วมมือจากกรมสุขภาพจิต และกรมควบคุมโรค ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองและการพัฒนาโรงพยาบาลในการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และมีการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับโรงพยาบาล สังกัด สป. ใน 76 จังหวัด และเริ่มมีการเยี่ยมพัฒนาและประเมินโรงพยาบาลตามแนวทางมาตรฐานYFHS ในปี จนถึงปัจจุบัน 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลากรผู้ให้บริการ

4 บทบาทการดำเนินงานของกรมวิชาการในส่วนกลาง
1) เป็นกรรมการประเมินและรับรอง YFHS ระดับกรม 2) สุ่มเยี่ยมประเมิน YFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3 กรม 3) สนับสนุนการประเมินYFHS โดยจัดทีมร่วมประเมินฯ ตามการร้องขอ(สอวพ. / สำนักส่งเสริมและพัฒนาจิต ฯ / สถาบันสุขภาพจิตเด็ก ฯ / สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 4)เป็นที่ปรึกษาในการประเมินรับรองYFHS 5) เสนอผลการประเมินรับรองYFHS เพื่อให้ปลัดกระทรวงลงนามในหนังสือแจ้งผลประเมิน

5 บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร
บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ตามมาตรการ การจัดบริการที่เป็นมิตรในสถานบริการ 1. ชี้แจงและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน(สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์อนามัย สสจ. รพ.ในเขตรับผิดชอบ) 2. เยี่ยมประเมินYFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3. สรุปผลการประเมินYFHS เสนอกรรมการประเมินและ รับรองส่วนกลาง 4. นิเทศติดตามการดำเนินงาน และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในพื้นที่

6 ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด
พัฒนาคุณภาพบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่นและมาตรฐานYFHS (ฉบับบูรณาการ) โรงพยาบาล ประเมินตนเอง รพ. ที่พร้อม(คะแนน>/= 2.0 ) แจ้งความประสงค์ไปยัง สสจ.พร้อมส่งแบบประเมินตนเอง เยี่ยมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลตามมาตรฐาน ฯ ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด ผ่าน 2.0 ขึ้นไป ไม่ผ่าน รายงานผลให้คณะกรรมการประเมิน ฯ ระดับเขต คณะกรรมการประเมินและรับรองระดับเขต เยี่ยมสำรวจและประเมินโรงพยาบาลที่ผ่านระดับ 2.0 ขึ้นไปเพื่อการ พิจารณาตัดสินและรับรองในระดับเขต รายงานผลการประเมินและรับรองมายังส่วนกลาง คณะกรรมการประเมินและรับรอง ส่วนกลาง พิจารณาและสรุปผลการประเมินรับรอง นำเสนอผลการประเมินรับรอง ฯ เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ความเห็นชอบ และลงนาม เพื่อแจ้งผลการประเมินให้จังหวัดและโรงพยาบาลทราบ กระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการมอบเกียรติบัตร และโล่ยกย่องเชิดชูเกียรติปีละครั้ง

7 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงานปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 855 408 แห่ง(47.72%) 342 385 428 470 513 ศูนย์อนามัยที่ 1 37 17 แห่ง (45.94%) 16 19 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 2 33 16 แห่ง (48.48%) 18 23 26 ศูนย์อนามัยที่ 3 71 28 แห่ง (39.43%) 31 34 43 ศูนย์อนามัยที่ 4 67 30 แห่ง (44.77%) 32 35 38 41 ศูนย์อนามัยที่ 5 79 60 แห่ง (75.94%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 6 117 66 แห่ง (56.41%) 69 72

8 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงาน ปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศูนย์อนามัยที่ 7 101 56 แห่ง(55.44%) 50 53 56 59 62 ศูนย์อนามัยที่ 8 52 12 แห่ง (23.07%) 19 23 26 29 32 ศูนย์อนามัยที่ 9 46 21 แห่ง (45.65%) 16 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 10 58 แห่ง (58.00%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 11 75 25 แห่ง (33.33%) 33 36 39 42 45 ศูนย์อนามัยที่ 12 77 19 แห่ง (24.67%) 34 38 41 44 47

9 หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. สรุปการประชุมชี้แจงแผน และขั้นตอนแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพทีมผู้ประเมินของศูนย์อนามัย สคร. และศูนย์สุขภาพจิต 2. ข้อมูลรายงานผลการเยี่ยมประเมินรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ และการรายงานผลของศูนย์อนามัยตามรายไตรมาส 3. หนังสือราชการ แจ้งผลการเยี่ยมประเมินรับรองให้จังหวัด และโรงพยาบาล 9

10 Q&A 10


ดาวน์โหลด ppt เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google